Page 45 -
P. 45
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภาพที่ 4 -4 ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อการให้บริการของ สกย.
4.2.3 การได้รับความรู้ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
เกษตรกรหลังรับการสงเคราะห์การทําสวนยางพารา ได้รับความรู้ในระดับมาก (3.86) และนําความรู้
ไปใช้ประโยชน์ในระดับมาก (3.57) มีรายละเอียด ดังนี้ ได้รับความรู้จากให้บริการของ สกย. เกษตรกรมีความ
คิดเห็นต่อการได้รับความรู้ ในระดับมาก ในขั้นตอนการปลูกแทน (4.17) เทคโนโลยีการปลูกสร้างสวนยาง
(4.16) การจัดการสวนพ้นสงเคราะห์ (4.01) การกรีดยางและการเพิ่มทักษะการกรีด (3.98) การทํายางแผ่นชั้น
ดี (3.87) การผสมปุ๋ ยเคมี (3.83) การใส่ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (3.82) โรคแมลงศัตรูยางและการป้องกันกําจัด
(3.80) การเสริมสร้างเกษตรกรชาวสวนยางยุคใหม่ (3.75)การคัดคุณภาพยางแผ่นดิบ (3.74) และการผลิตปุ๋ ย
อินทรีย์ชีวภาพและการขยายพันธุ์ยาง (3.71) ตามลําดับ และได้รับความรู้ ในระดับปานกลาง ในด้านการผลิต
ยางแผ่นรมควันอัดก้อนมาตรฐาน (3.17) ตามลําดับ
เกษตรกรมีความคิดเห็นต่อการนําความรู้ที่ได้รับจาก การให้บริการของ สกย.ไปใช้ประโยชน์ ใน
ระดับมากที่สุด ในเทคโนโลยีการปลูกสร้างสวนยาง (4.23) นําความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน ระดับมาก ใน
ขั้นตอนการปลูกแทน (4.19) การจัดการสวนพ้นสงเคราะห์ (3.97) การกรีดยางและการเพิ่มทักษะการกรีดยาง
(3.88) การเสริมสร้างเกษตรกรชาวสวนยางยุคใหม่ (3.68) การใส่ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดินเท่ากันกับโรคแมลง
ศัตรูยางและการป้องกันกําจัด (3.60) ผสมปุ๋ ยเคมี (3.41) ในระดับปานกลาง คือการทํายางแผ่นชั้นดี (3.35) การ
ผลิตปุ๋ ยอินทรีย์ชีวภาพ (3.33) การคัดคุณภาพยางแผ่นดิบ (3.28) การขยายพันธุ์ยาง (3.19) ตามลําดับและใน
ระดับน้อยในด้านการผลิตยางแผ่นรมควันอัดก้อนมาตรฐาน (2.57) (ตารางที่ 4-7)
รายงานการประเมินผลการดําเนินงานของ สกย. ปี 2553 หน้า 39