Page 37 -
P. 37
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ประเด็น จํานวน ร้อยละ
3. ระดับการศึกษา
ประถมศึกษาปีที่ 4 199 46.82
ประถมศึกษาปีที่ 6 55 12.94
มัธยมศึกษาตอนต้น 33 7.76
มัธยมศึกษาตอนปลาย/ ปวช. 58 13.65
อนุปริญญา/ ปวส. 13 3.06
ปริญญาตรี 32 7.53
อื่นๆ 35 8.24
4. การถือครองที่ดิน พื้นที่ถือครองทั้งหมด พื้นที่ทําการเกษตร พื้นที่ทําสวนยางพารา
จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ
น้อยกว่า 21 ไร่ 194 45.65 212 49.88 269 63.29
21 - 50 ไร่ 150 35.29 131 30.82 100 23.53
มากกว่า 50 ไร่ 78 18.35 72 16.94 53 12.47
ไม่ระบุ 3 0.71 10 2.35 3 0.71
เฉลี่ย 41ไร่ เฉลี่ย 39ไร่ เฉลี่ย 30ไร่
4.1.2 ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อขั้นตอนในการให้การสงเคราะห์
เกษตรกรที่อยู่ระหว่างสงเคราะห์มีความพึงพอใจต่อขั้นตอนการให้การสงเคราะห์ใน ระดับมากที่สุด
ในการจ่ายเงินสงเคราะห์ปลูกแทน (4.30) การสํารวจสภาพต้นยาง สภาพพื้นที่ และการสํารวจรังวัดพื้นที่
(4.28) วิธีการตรวจสอบและแนะนําสวนยางสงเคราะห์ปลูกแทน (4.26) การประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการสํารวจ
รังวัดพื้นที่ (4.24) การโค่นยางพาราเก่าและปลูกแทน (4.22) การยื่นเอกสารสงเคราะห์การปลูกแทนเท่ากันกับ
ขั้นตอนการปลูกแทน (4.21) การอนุมัติและการแจ้งผลการอนุมัติในการให้การสงเคราะห์ปลูกแทน (4.20)
ตามลําดับ และมีความพึงพอใจต่อการให้การสงเคราะห์ใน ระดับมาก ในด้านเทคโนโลยีในการดูแลรักษา
สร้างสวนยาง (4.19) และการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร (4.11) ตามลําดับ (ดังตารางที่ 4-2)
ตารางที่ 4-2 ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อขั้นตอนในการให้การสงเคราะห์
n = 425
ประเด็น ค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับ ค่า S.D.
1) การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร 4.11 มาก
1.1 ประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้เกษตรกรรับรู้ข่าวสารในการให้การสงเคราะห์ 4.06 มาก 0.65
1.2 ชี้แจงในการเตรียมเอกสาร หลักฐานของเกษตรกร 4.15 มาก 0.53
2) การยื่นเอกสารสงเคราะห์การปลูกแทน 4.21 มากที่สุด
2.1 การบริการในการยื่นขอเอกสารสงเคราะห์การปลูกแทน 4.24 มากที่สุด 0.52
2.2 ความชัดเจนในการชี้แจงรายละเอียดเนื้อหาของแบบฟอร์ม (สิทธิ หน้าที่) 4.23 มากที่สุด 0.58
2.3 ระยะเวลา(ความรวดเร็ว)ในการกรอกแบบฟอร์มเพื่อขอรับการสงเคราะห์ 4.16 มาก 0.60
รายงานการประเมินผลการดําเนินงานของ สกย. ปี 2553 หน้า 31