Page 58 -
P. 58

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

             37




                    5) รวบรวมข้อมูลจากเวทีประชาพิจารณ์ระบบการผลิตพริกปลอดภัยจังหวัดนครปฐม โดยรวบรวม
             ข้อมูล ดังตารางที่ 3-3


             ตารางที่ 3-3 การรวบรวมข้อมูลจากเวทีประชาพิจารณ์

                 กิจกรรม            วัตถุประสงค์           ขั้นตอนของกิจกรรม          วิธีการ/เครื่องมือที่ใช้
             สร้างความเข้าใจ  เพื่อให้การจัดเวทีประชา  - จัดแสดงนิทรรศการงานวิจัย    - โปสเตอร์ผลงานวิจัย

             ร่วมกันในการจัด  พิจารณ์บรรลุผลตาม      - ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดเวทีประชา  - พูดคุยสร้างความเข้าใจ
             เวทีประชาพิจารณ์   วัตถุประสงค์         พิจารณ์และแนวทางการวิจัยและ
                                                     พัฒนาจังหวัดนครปฐมโดยหัวหน้า

                                                     โครงการฯ และผู้ประสานงาน
                                                     โครงการวิจัยจากสํานักงานกองทุน
                                                     สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมพูดคุย

             สรุปผลงานวิจัย   เพื่อให้ผู้เข้าร่วมเวทีทราบ  นักวิจัยนําเสนอผลงานวิจัย   Power Point ผลงานวิจัย
             ระบบการผลิตพริก  ถึงผลการวิจัย ทั้งในส่วน
             ปลอดภัยจังหวัด   การผลิต การตลาด

             นครปฐม           ผู้บริโภค ภาครัฐ (Supply
                              Chain)

             แลกเปลี่ยนข้อมูล   เพื่อให้ได้ข้อมูลงานวิจัยที่  - ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็น และ - การจัดอภิปรายกลุ่ม
             การอภิปรายแสดง   ถูกต้อง ผ่านการตรวจสอบ  ข้อเสนอแนะ ในแต่ละกลุ่ม       (FGD)
             ความคิดเห็น      จากทุกภาคส่วน               กลุ่มเกษตรกร              - Mind Mapping

             เสนอแนะ                                      กลุ่มผู้ประกอบการตลาด และผู้
                                                     ส่งออก

                                                          ตัวแทนจากหน่วยงานภาครัฐที่
                                                     เกี่ยวข้อง
                                                     - สรุปผลการประชาพิจารณ์


                    3.2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล


              ข้อมูลจาก      แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง  (Structured  Interview) 1) เกษตรกรกลุ่มผู้ผลิตพริก
             ปลอดภัย (กลุ่ม GAP) จํานวน 64 ราย 2) เกษตรกรกลุ่มผู้ผลผลิตพริกทั่วไป (กลุ่ม Non-GAP) จํานวน 108 ราย

             และกลุ่มผู้บริโภคพริกและผลิตภัณฑ์จากพริก จํานวน 150 ราย   ตรวจสอบความถูกต้อง  นํามาลงรหัส

             ประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ ใช้โปรแกรมสําเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่าสถิติเชิงพรรณนา ค่าร้อย
             ละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63