Page 83 -
P. 83
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร: กรณีศึกษา
79
Sugar ester จะสามารถลดต้นทุนได้เป็นจ านวนเงิน 1,564,060 บาท เนื่องจากการด าเนินงานแบบเดิม มี
ข้อบกพร่อง เช่น สั่งซื้อบ่อยครั้งและเกิดสินค้าขาดแคลน จึงท าให้ มีต้นทุนการสั่งซื้อและต้นทุนสูญเสียโอกาสจาก
การขาดสินค้าคงคลัง พบว่าต้นทุนรวมยิ่งสูงขึ้น หากต้นทุนสินค้าขาดแคลนต่อหน่วยเพิ่มขึ้น เนื่องจากในการ
ค านวณครั้งนี้คิดเพียง 100 บาท ซึ่งค่าเสียโอกาสน่าจะมีค่ามากกว่านี้ เนื่องจากอาจท าให้สูญเสียลูกค้ารายส าคัญ
ไป ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าการน าเข้าสินค้าในปีถัดไปควรน านโยบายสินค้าคงคลังแบบใหม่ หรือแบบ (s, S) มาใช้ โดย
ใช้ร่วมกับการพยากรณ์ปริมาณยอดขายในปีถัดไป เพื่อปรับปรุงปริมาณสินค้าคงคลังส ารอง จุดสั่งซื้อ และปริมาณ
สินค้าคงคลังสูงสุด โดยการวางแผนการน าเข้าปีล่าสุดจึงน าค่าจากการพยากรณ์ด้วยวิธี Holt-Winters' method for
additive seasonal effects จากการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Crystal ball predictor เพื่อพยากรณ์ปริมาณความ
ต้องการรายเดือนและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความต้องการรายเดือน และใช้นโยบาย (s, S) ในการน าเข้า
สินค้าและจัดเก็บสินค้าคงคลังของปีพ.ศ. 2550 จากการค านวณพบว่า ในปีพ.ศ. 2550 จุดสั่งซื้อ ( s) เท่ากับ 933
กล่อง ปริมาณสินค้าคงคลังสูงสุด (S) เท่ากับ 1,828 กล่อง ดังนั้น บริษัทควรตรวจสอบสินค้าคงคลังทุกวัน หาก
พบว่ามีปริมาณต่ ากว่า 933 กล่อง จะสั่งซื้อสินค้าเข้ามาเพื่อเติมปริมาณสินค้าคงคลังให้มีปริมาณ เท่ากับ 1,828
กล่อง หรือสั่งซื้อเท่ากับ 1,828 ลบจ านวนสินค้าที่มีนั่นเอง แต่หากมีสินค้ามากกว่า 933 กล่อง บริษัทไม่ต้องสั่งซื้อ
สินค้า
ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบต้นทุนเมื่อใช้นโยบายสินค้าคงคลังเดิมและใหม่ของการน าเข้าสินค้า Sugar ester ของ
บริษัทกรณีศึกษา ในปีพ.ศ. 2545-2549
นโยบายเก่า นโยบายใหม่ (s, S)
ปริมาณสินค้าคงคลังส ารอง ไม่ก าหนด 1,863 กิโลกรัม
จ านวนรอบการสั่งซื้อ 40 ครั้ง 22 ครั้ง
ปริมาณสินค้าน าเข้า 200,272 กิโลกรัม 198,798 กิโลกรัม
ปริมาณสินค้าคงคลังเฉลี่ยต่อเดือน 2,674 กิโลกรัม 6,984 กิโลกรัม
ปริมาณสินค้าคงคลังขาดแคลน 6,340 กิโลกรัม 0
ต้นทุนเสียโอกาสจากการขาดสินค้าคงคลัง = 6,340 x 100 = 634,000 0
ต้นทุนการเก็บสินค้าคงคลัง = 2,674 x 4 x 50 = 534,800 = 6,984 x 4 x 50 = 1,396,800
ต้นทุนการสั่งซื้อ = 40 x 40,000 = 1,600,000 = 22 x 40,000 = 880,000
ต้นทุนรวม (ไม่รวมราคาสินค้า) 2,768,800 บาท 2,276,800 บาท
ต้นทุนสินค้าน าเข้า = 200,272 x 1,000 = 198,798 x 1,000
= 200,272,000 บาท = 198,798,000 บาท
ต้นทุนรวม 203,040,860 บาท 201,476,800 บาท
นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบปริมาณสินค้าคงคลัง ณ ต้นเดือน ปริมาณความต้องการสินค้า และ
ปริมาณสินค้าที่บริษัทจัดหาให้แก่ลูกค้าได้ เมื่อใช้นโยบายเดิมและนโยบายใหม่ในช่วงปี พ.ศ. 2545-2549 หรือ 60
เดือน ดังแสดงในภาพที่ 1 และ 2 พบว่า หากใช้นโยบายสินค้าคงคลังแบบเดิมจะมีโอกาสที่ปริมาณสินค้าคงคลัง
น้อยและเกิดสินค้าขาดในช่วงที่ลูกค้าต้องการ แต่หากใช้นโยบายใหม่ซึ่งได้ค านวณปริมาณสินค้าคงคลังส ารอง จุด
สั่งซื้อ และปริมาณสินค้าคงคลังสูงสุด ตามปริมาณความต้องการของลูกค้า จึงท าให้ไม่พบโอกาสสินค้าขาดมือ และ
ปริมาณสินค้าคงคลังสูงขึ้น เนื่องจากเวลาน าในการสั่งซื้อนานถึง 2 เดือน หากบริษัทไม่มีสินค้าคงคลังเผื่อไว้ย่อม
เกิดโอกาสสินค้าขาดมือได้ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่านโยบายใหม่มีข้อดีและควรน าไปปรับใช้ต่อไป
ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์