Page 82 -
P. 82

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                               การวางแผนการน าเข้าสินค้า SUGAR ESTER
               78

               สูตรและการค านวณ

                       ความต้องการในช่วงเวลาน า =  d    = 3,300.78 x 2 = 6,601.56 กิโลกรัม
                                                  L
                       ปริมาณสินค้าคงคลังส ารอง (Safety stock) =  z  L  =  645.1   831 . 71  2  = 1,94.70 กิโลกรัม
                       จุดสั่งซื้อ (s) =  d  L   z  L  =  300,3  . 78 2   . 1  645  831 . 71  2 = 8,530 กิโลกรัม
                       ปริมาณสินค้าคงคลังที่ก าหนด (S) = s+ Q

                                  2 KD
                       โดย   Q =
                                    h
                       h  =  ต้นทุนการเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปี ( Inventory  carrying  cost)  โดยข้อมูลมาจากฝ่ายบัญชี
               ซึ่งประมาณจากดอกเบี้ยเงินกู้ ค่าบ ารุงรักษา ค่าด าเนินการจัดเก็บ  (เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าจ้างพนักงานรายเดือน เป็น
               ต้น) ค่าประกันและภาษี ค่าเสียหายเนื่องจากสินค้าหมดอายุ เป็นต้น   ซึ่งก าหนดไว้ที่ 5%  ของราคาต้นทุนสินค้า
               ซึ่งเท่ากับ 1,000 บาทต่อกิโลกรัม ดังนั้น h = 1,000 x 0.05 = 50 บาทต่อกิโลกรัมต่อปี
                       K = ต้นทุนสั่งซื้อสินค้าต่อหน่วยต่อปี ( Ordering cost) โดยข้อมูลมาจากฝ่ายบัญชี ซึ่งประมาณจากค่า

               เอกสารด าเนินการจัดซื้อสินค้า ค่าใช้จ่ายในการติดต่อและติดตามการสั่งซื้อสินค้า ค่าใช้จ่ายการรับสินค้าและน า
               สินค้าออกจากท่าเรือ และค่าขนส่งสินค้าจากท่าเรือถึงบริษัท ซึ่งก าหนดไว้โดยประมาณที่ 40,000 บาทต่อรอบการ
               สั่งสินค้าหนึ่งครั้ง
                       อัตราความต้องการสินค้าโดยเฉลี่ย (D) ต่อปี = 3,300.78 x 12 = 39,610 กิโลกรัมต่อปี

                       น าค่า K, h, D ที่ได้แทนค่าในสูตร

                              2KD       2 40 , 000 39 , 610
                       Q  =                                 =  7,961 กิโลกรัม
                                h               50

                       น าค่า Q ที่ได้มาประกอบการค านวณหาค่า ปริมาณวัสดุคงคลังสูงสุด (S) จากสูตร S = s+ Q = 8,530 +

               7,916  =  16,446 กิโลกรัม  หรือประมาณ 1,645 กล่อง  (เนื่องจากขนาดบรรจุภัณฑ์ของสินค้า   1  กล่อง คือ  10
               กิโลกรัม) ดังนั้น บริษัทควรตรวจสอบจ านวนวัสดุคงคลังทุกวัน และควรสั่งซื้อเมื่อปริมาณวัสดุในคลังเหลือน้อยกว่า
               หรือเท่ากับ 853 กล่อง โดยสั่งซื้อเท่ากับ 1,645 กล่อง ลบด้วยจ านวนสินค้าคงคลังที่มีอยู่ (กล่อง)   เมื่อ ทดลองน า
               นโยบายนี้ไปปรับใช้กับการจัดการสินค้าคงคลังในปี พ.ศ.  2545-2549 และเปรียบเทียบต้นทุนรวม  (Total  cost)
               กับวิธีการจัดการแบบเดิมที่บริษัทใช้อยู่ พบว่า  จากการจัดการสินค้าคงคลังวิธีเดิม  ในบางเดือนปริมาณสินค้าคง
               คลังต่ ากว่าความต้องการสินค้าของลูกค้าหรือยอดขายสินค้า แสดงว่าบริษัทไม่สามารถจัดส่งสินค้าให้กับลูกค้าได้

               ตามก าหนด ท าให้บริษัทต้องสูญเสียรายได้จากการสูญเสียโอกาสในส่วนนี้ ซึ่งในบางครั้งไม่สามารถวัดเป็นจ านวน
               เงินได้ เนื่องจากลูกค้าอาจเปลี่ยนไปซื้อสินค้าจากบริษัทอื่น หรือท าให้เกิดความเสียหายต่อความเชื่อถือและ
               ชื่อเสียงของบริษัท   ดังนั้น เมื่อค านวณต้นทุนรวมต่อปีจากการด าเนินงานแบบเดิมของบริษัท  จะก าหนดให้มีการ
               คิดค่าต้นทุนสูญเสียโอกาสจากสินค้าคงคลังขาดมือ (Lost sales) โดยสมมติให้เป็น 100 บาทต่อกิโลกรัม   ผลการ
               ค านวณพบว่า การใช้นโยบายใหม่นี้เพิ่มระดับสินค้าคงคลังเฉลี่ยจากวิธีเดิม ท าให้ไม่มีสินค้าขาดมือ และสามารถ

               ลดจ านวนครั้งในการสั่งซื้อได้   การเปรียบเทียบต้นทุนรวมในปีพ.ศ. 2545-2549 ระหว่างนโยบายเดิมและนโยบาย
               สินค้าคงคลังแบบใหม่ สรุปได้ดังตารางที่ 2
                       ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ต้นทุนรวม เมื่อไม่รวมราคาสินค้าน าเข้าของการใช้นโยบายใหม่ มีค่าต่ ากว่า
               ต้นทุนรวมของการด าเนินงานแบบเดิม  เท่ากับ 491,990 บาท   นอกจากนี้ หากพิจารณาต้นทุน การน าเข้าสินค้า




               พรธิภา องค์คุณารักษ์ และ อธิพัฒน์ พัฒนะศิริ
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87