Page 46 -
P. 46

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                               การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตโดยการใช้แบบจ าลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์และผังงานสายธารแห่ง

                               คุณค่าในโรงงานผลิตกาแฟแบบคั่วบดกรณีศึกษา
               42

                       d      เป็นจ านวนวันโดยเฉลี่ยเมื่อมีการท างานล่วงเวลาเพื่อท าการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมใน
                        Z
                              สายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด Z
                       w      เป็นจ านวนวันท างานทั้งหมด

               สมการวัตถุประสงค์ (Objective function):

                       ค่าแรงพนักงานคัดแยกสิ่งแปลกปลอมก่อนการคั่วทั้งหมดมีค่าน้อยที่สุด
                                                           191                   
                         191  x T   w  191  x Z   w  1  5 .    8   h T   8  x T   d T   
                                      
                                                       
                                                       
                                191                  
                              .1  5   8    h Z  8  x Z  d                              (1)
                            
                                                      
                                                    Z
                                                      
                            

               ข้อจ ากัด (Subjected to):
                       h       10                                                             (2)
                        T
                       h       12                                                             (3)
                        Z
                       x   1, 0,     ...   2,                                               (4)
                        T
                       x   1, 0,     ...   2,                                               (5)
                        Z

                       โดยการหาจ านวนพนักงานคัดแยกสิ่งแปลกปลอมก่อนการคั่วในสายการผลิตผลิตภัณฑ์ทั้งสองชนิดที่
               เหมาะสม ท าโดยการใช้โปรแกรม OptQuest ซึ่งเป็นโปรแกรมเสริมในโปรแกรม Arena 9.0
                       ผลที่ได้จากโปรแกรม OptQuest พบว่า จ านวนพนักงานที่เหมาะสมกับการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมส าหรับ
               สายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด T จะเพิ่มจาก 10 คนเป็น 12 คน  และส าหรับสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด  Z จะเพิ่ม

               จาก 6 คนเป็น 9 คน

               แนวทางที่ 2 การเพิ่มจ านวนพนักงานร่วมกับการปรับเปลี่ยนตาราง/ล าดับการท างานของพนักงาน ในขั้นตอนการ
               คัดแยกสิ่งแปลกปลอมก่อนการคั่วและขั้นตอนการบรรจุ
                       ทดลองท าการเพิ่มจ านวนพนักงานคัดแยกสิ่งแปลกปลอมก่อนการคั่วในจ านวนที่เหมาะสม (ท าการหา

               จ านวนพนักงานโดยโปรแกรม  OptQuest  ซึ่งผลที่ได้พบว่า จ านวนพนักงานที่เหมาะสมกับการคัดแยกสิ่ง
               แปลกปลอมส าหรับสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด  Z จะเท่ากับ 9 คน แต่ส าหรับสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด  T จะ
               คงที่ 10  คน) ร่วมกับการปรับเปลี่ยนตาราง/ล าดับการท างานของพนักงาน ในขั้นตอนการคัดแยกสิ่งแปลกปลอม
               ก่อนการคั่วและขั้นตอนการบรรจุผ่านแบบจ าลองสถานการณ์ที่สร้างขึ้น และยังก าหนดให้พนักงานคัดแยกสิ่ง
               แปลกปลอมในสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด  Z  เมื่อท างานเสร็จจะถูกโยกย้ายไปช่วยคัดแยกสิ่งแปลกปลอมใน
               สายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด T ทันที   นอกจากนี้ ได้ก าหนดให้พนักงานในส่วนบรรจุผลิตภัณฑ์ชนิด T มีเวลาการ

               เริ่มปฏิบัติงานในขั้นตอนการบรรจุไม่พร้อมกัน   กล่าวคือ  ให้พนักงานที่ท าหน้าที่ปิดผนึกกระป๋องและบรรจุ
               ผลิตภัณฑ์ลงกล่องมาท างานในส่วนการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมของสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด T ก่อนเป็นเวลา 3
               ชั่วโมงในช่วงเช้า   หลังจากนั้นจึงกลับมาท างานในหน้าที่ของตนเองตั้งแต่ชั่วโมงที่ 4 เป็นต้นไป และให้พนักงานที่
               ท าหน้าที่บรรจุและชั่งน้ าหนักกาแฟที่ผ่านการบดแล้วเริ่มงานในขั้นตอนการบรรจุก่อน และเมื่อท างานเสร็จจะถูก

               โยกย้ายมาท าการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมในสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด T



               ปรารถนา ปรารถนาดี, จิรชัย พุทธกุลสมศิริ, วรรณวิภา เศรณีวิจัยกิจการ และ ทีปพิพัฒน์ สุระพีพงษ์
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51