Page 45 -
P. 45
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร: กรณีศึกษา
41
สอบถามผู้เชี่ยวชาญระบบการผลิตของโรงงานกรณีศึกษา (Face validation) และวิธีการก าหนดค่า (Fixed value
test)
4. การพิจารณาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพสายการผลิตของ
โรงงานกรณีศึกษา พร้อมทั้งการวิเคราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุน
ท าการพิจารณาแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพสายการผลิตโรงงานกรณีศึกษา โดยเน้นที่การ
บริหารจัดการทรัพยากร (แรงงานและเครื่องจักร) ที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถท าการพิจารณา
แนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของแต่ละขั้นตอนการผลิตได้ดังนี้
4.1 การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตขั้นตอนการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมก่อนการคั่ว
เนื่องจากขั้นตอนการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมเป็นจุดคอขวดของสายการผลิต ปัจจุบันโรงงานกรณีศึกษา
ได้ท าการแก้ไขปัญหาโดยการโยกย้ายพนักงานจากส่วนอื่นที่ได้ท างานในหน้าที่ของตนเสร็จเรียบร้อยแล้วให้เข้า
มาช่วยท างานในขั้นตอนนี้ ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงพิจารณาวิธีในการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มเติม เพื่อใช้
ร่วมกับวิธีที่โรงงานได้ท าอยู่ในปัจจุบัน ดังนี้
แนวทางที่ 1 การเพิ่มจ านวนพนักงานที่ท างานในขั้นตอนการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมก่อนการคั่ว
ทดลองท าการเพิ่มจ านวนพนักงานในขั้นตอนการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมก่อนการคั่วของสายการผลิต
ผลิตภัณฑ์ทั้งสองชนิดให้เหมาะสมกับปริมาณอุปสงค์ ผ่านแบบจ าลองสถานการณ์ที่สร้างขึ้น โดยจ านวนพนักงาน
ที่เหมาะสมต้องท าให้ค่าจ้างพนักงานในขั้นตอนนี้มีค่าน้อยที่สุด ทั้งนี้ค่าจ้างของพนักงานประกอบด้วยค่าจ้างขั้นต่ า
ต่อวันเท่ากับ 191 บาทต่อคนต่อวัน และค่าจ้างการท างานล่วงเวลา ซึ่งมีค่า 1.5 เท่าของค่าจ้างขั้นต่ าต่อวัน และ
ต้องสอดคล้องกับนโยบายของโรงงานกรณีศึกษาที่ให้มีการท างานล่วงเวลาได้ไม่เกินวันละ 2 ชั่วโมงหรือเวลาใน
การท างานเฉลี่ย (Average throughput time) ไม่เกิน 10 ชั่วโมงต่อวัน แต่เนื่องจากอุปสงค์ของผลิตภัณฑ์ชนิด Z
มีความแปรปรวนสูง การก าหนดให้เวลาในการท างานเฉลี่ยไม่เกิน 10 ชั่วโมงต่อวัน จะท าให้เกิดการจ้างพนักงาน
คัดแยกสิ่งแปลกปลอมของสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด Z เป็นจ านวนมากและส่งผลให้อัตราการท างานเฉลี่ย
(Average utilization) มีค่าต่ ามาก เมื่อน ามาเฉลี่ยรวมกับวันที่ไม่มีการท างานล่วงเวลา ดังนั้นในงานวิจัยจึง
ก าหนดให้เวลาในการท างานเฉลี่ยของพนักงานคัดแยกสิ่งแปลกปลอมส าหรับสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด Z ไม่
เกิน 12 ชั่วโมงต่อวัน หรือมีการท างานล่วงเวลาได้ไม่เกิน 4 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งสามารถแสดงเป็นแบบจ าลอง
โปรแกรมเชิงเส้นแบบจ านวนเต็ม (Integer linear programming model) ได้ดังนี้
ก าหนดให้
x เป็นจ านวนพนักงานคัดแยกสิ่งแปลกปลอมในสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด T
T
x เป็นจ านวนพนักงานคัดแยกสิ่งแปลกปลอมในสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด Z
Z
h เป็นเวลาในการท างานเฉลี่ยของการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมในสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด T
T
เมื่อมีการท างานล่วงเวลา (ชั่วโมง)
h เป็นเวลาในการท างานเฉลี่ยของการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมในสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด Z
Z
เมื่อมีการท างานล่วงเวลา (ชั่วโมง)
d เป็นจ านวนวันโดยเฉลี่ย เมื่อมีการท างานล่วงเวลาเพื่อท าการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมใน
T
สายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด T
ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์