Page 49 -
P. 49
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร: กรณีศึกษา
45
ผลและวิจารณ์
ในการประมวลผลของแบบจ าลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ในงานวิจัยนี้ ได้ก าหนดให้มีจ านวนรอบ
ท าซ้ า (Number of replication) เท่ากับ 40 รอบ ช่วงเวลาในการเข้าสู่สภาวะคงตัว (Warm-up period) เท่ากับ
1,100 ชั่วโมง และความยาวในการประมวลผลแต่ละรอบ (Replication length) เท่ากับการด าเนินงานเป็นเวลา
5 ปี
1. การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตขั้นตอนการคัดแยกสิ่งแปลกปลอม
เมื่อเปรียบเทียบผลจากการจ าลองสถานการณ์ พบว่า การน าเครื่องยิงสีเข้ามาใช้ในสายการผลิตสามารถ
ลดเวลาในการท างานเฉลี่ยลงเหลือเพียง 3.36 ชั่วโมงต่อครั้ง และไม่มีการท างานล่วงเวลาเกิดขึ้น (ดังแสดงในภาพ
ที่ 3-5 ตามล าดับ) ทั้งนี้ เนื่องจากเครื่องจักรมีก าลังการผลิตสูงมากจึงสามารถท าการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมออก
จากเมล็ดกาแฟตามปริมาณที่ต้องการใช้ในการผลิตได้อย่างรวดเร็ว และใช้เวลาในการท างานน้อยมาก
14.00 12.35
12.00 10.12
เวลาในการท างานเฉลี่ย (ชั่วโมงต่อครั้ง) 8.00 6.51 3.36
10.00
6.00
4.00
2.00
0.00
ปัจจุบัน แนวทางที่ 1 แนวทางที่ 2 แนวทางที่ 3
ภาพที่ 3 เวลาในการท างานเฉลี่ยของการด าเนินงานในปัจจุบันและการปรับปรุงประสิทธิภาพ การผลิตตาม
แนวทางต่างๆ
ปัจจุบัน
6.00 5.04 แนวทางที่ 1
แนวทางที่ 2
5.00
แนวทางที่ 3
เวลาการท างานล่วงเวลาเฉลี่ย (ชั่วโมง) 4.00 3.07 1.64 1.97 3.39 3.14
3.00
2.00
1.00
0.00 0.00 0.00
ผลิตภัณฑ์ชนิด T ผลิตภัณฑ์ชนิด Z
ภาพที่ 4 ชั่วโมงการท างานล่วงเวลาเฉลี่ยของพนักงานคัดแยกสิ่งแปลกปลอมในสายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด T
และผลิตภัณฑ์ชนิด Z ตามการด าเนินงานในแนวทางต่างๆ
ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์