Page 53 -
P. 53

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




                                                        การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร: กรณีศึกษา
                                                                                                        49


                          70%                  66%
                          60%          47%         46% 44%          42%     57%              รูปแบบที่ 1
                          50%
                       อัตราการท างานเฉลี่ย  40%  16%  42%       41%           36% 38%       รูปแบบที่ 3
                                                                                             รูปแบบที่ 2
                          30%
                          20%
                          10%                                 14%
                           0%                                                             ทรัพยากร

                                พนักงานคั่วคนที่ 1  พนักงานคั่วคนที่ 2  เครื่องคั่วที่ 1  เครื่องคั่วที่ 2


                   ภาพที่ 8  อัตราการท างานเฉลี่ยของทรัพยากรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการคั่ว   เมื่อท าการจัดล าดับงานบน
                           เครื่องคั่วทั้งสองเครื่องด้วยรูปแบบต่างๆ


                          จากการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตตามที่งานวิจัยนี้ได้น าเสนอทั้งหมด ท าให้  VSM ที่แสดงสถานะที่
                   ควรจะเป็นในอนาคตของโรงงานกรณีศึกษา มีลักษณะเป็นดังภาพที่ 9

                                                             สรุป
                          ผลจากการศึกษาและวิเคราะห์สายการผลิต โดยแบบจ าลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ พบว่า การ
                   ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตส าหรับขั้นตอนการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมก่อนการคั่ว โดยแนวทางที่  3 คือ การน า

                   เครื่องจักรอัตโนมัติเข้ามาใช้งานแทนแรงงานคนจะท าให้เวลาในการท างานเฉลี่ยลดลง ไม่เกิดการท างานล่วงเวลา
                   มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิของค่าใช้จ่ายต่ าที่สุด และมีระยะเวลาคืนทุนที่สั้นเพียง 1.0-1.5 ปีเท่านั้น โดยหากเปรียบเทียบ
                   กับแนวทางที่ 1 จะมีระยะเวลาคืนทุนเท่ากับ 23 เดือน และเมื่อเทียบกับแนวทางที่  2 จะมีระยะเวลาคืนทุนเท่ากับ
                   29 เดือน   ในส่วนการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตส าหรับขั้นตอนการคั่ว โดยการจัดล าดับงานบนเครื่องคั่วด้วย

                   รูปแบบที่ 2 จะเป็นรูปแบบที่เหมาะสมที่สุดส าหรับโรงงานกรณีศึกษา เนื่องจากท าให้อัตราการท างานเฉลี่ยของ
                   ทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการคั่วทั้งหมด มีค่าใกล้เคียงกันหรือมีการกระจายปริมาณงานมายังทรัพยากรแต่
                   ละชนิดได้อย่างใกล้เคียงกัน และในกรณีที่มีการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิด Z หรือผลิตภัณฑ์ชนิด T เป็นจ านวนมาก การ
                   จัดล าดับงานบนเครื่องคั่วด้วยรูปแบบที่ 2 จะท าให้โรงงานกรณีศึกษาสามารถท าการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ ได้
                   ทันเวลา   นอกจากนี้ งานวิจัยนี้ยังแสดงให้เห็นว่า VSM และการจ าลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ
                   ช่วยตัดสินใจหาแนวทางเพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพการท างานได้อย่างเหมาะสม โดยไม่รบกวนต่อการท างาน

                   ของระบบการท างานจริงได้เป็นอย่างดี

                                                           ค านิยม
                          คณะผู้วิจัยขอขอบคุณสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   (สวพ. มก.) ที่ให้ทุน

                   สนับสนุนงานวิจัยนี้ (โครงการวิจัยเลขที่  ว-ท(ด) 135.51) และขอขอบคุณโรงงานกรณีศึกษาที่กรุณาอนุเคราะห์
                   ข้อมูล รวมทั้งให้ความช่วยเหลือในการท าการวิจัย







                                                ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58