Page 84 -
P. 84

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                                  สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                          บทที่ 7 ทฤษฎีสัทวิทยาอัตภาค  77




                                                     การจัดลําดับอนุภาควรรณยุกตสูง-ต่ํา ของเสียงสูงตกนี้ เห็นไดจากการสูญเสีย

                          อนุภาควรรณยุกตเพียงอนุภาคเดียว ในการผสานคําใน (15) เชน

                                 (15)           H  L                                 H          L

                                                                              h
                                              h
                                                [ k   a        –pa ]       >            [ k   a      –pa ]

                                        สําหรับการเชื่อมโยงอนุภาคในลักษณะสองตอหนึ่ง (contour segment)  หรือมากกวา

                           หนึ่งตอหนึ่ง (many-to-one) เห็นไดจากตัวอยางใน (14) และ (15) ตัวอยางใน (16) ตอไปนี้จะชวยใหเห็น
                           ชัดเจนยิ่งขึ้นถึงลําดับอนุภาค High Low วาเปนอิสระตออนุภาค V  นคําพยางคเดียว สองพยางค และสาม

                          พยางค (จาก Tumtavitikul 1986 (ขอมูลจาก Hari 1970 ) )

                                                H   L

                                 (16)
                                                  k   i            “น้ํา”


                                                  H       L

                                               n  a    m  s  a      “หมูบาน”

                                                H         L

                                                    t   i   k  a   l  a k     “จิ้งจก”


                                        การเชื่อมโยงแบบสองตอหนึ่งหรือมากกวาหนึ่งตอหนึ่ง เปนการชี้บงถึงเวลาที่ออกเสียง
                          พรอมๆ กันของอัตภาคที่เชื่อมโยงกัน


                                        พฤติกรรมตางๆ เหลานี้ของภาษา ที่ไดอภิปรายในหัวขอ 7.5.1-7.5.3  นี้ เปนเหตุผล
                          สําคัญที่ใชสนับสนุนทฤษฎีอัตภาค




                           แบบฝกหัด
                                               ทําแบบฝกหัดบทที่ 21-23 จากทายเลม
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89