Page 83 -
P. 83
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 7 ทฤษฎีสัทวิทยาอัตภาค
76
อนุภาคลอยแสดงใหเห็นถึงความเปนอิสระของอนุภาค ตออนุภาคในชั้นสวนอื่นสําหรับ H-tone
morpheme ในตัวอยาง (8) ความเปนอัตภาคก็คือการที่ H นี้สามารถเชื่อมโยงกับอนุภาคไดจํานวนไม
จํากัดใน reduplication ขึ้นอยูกับ phonetic content ที่พิมพแบบ (copy) มาจากรากศัพท (root morpheme)
สําหรับอนุภาคเฉื่อย (inert segment) ใน (11) และ (12) ความเปนอัตภาค ก็คือการที่อนุภาคนี้จะเชื่อม
หรือไมเชื่อมโยงกับชั้นสวนพยางค (syllable tier) ก็ได หากมีการเชื่อมโยงก็จะปรากฏในชั้นผิว หากไมมีก็
จะสูญหายในชั้นผิว
7.5.3 การแผกระจายอนุภาคและการเชื่อมโยงอนุภาค (สัทลักษณ) นั้น ความเปนอัตภาค ก็คือการ
เปนอนุภาคที่เปนเอกเทศในชั้นสวนของตนเอง จะแผกระจายเชื่อมโยงกับอนุภาคในชั้นสวนตรงขามไป
ในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง เชนจากซายไปขวา หรือจากขวาไปซายไดโดยไมจํากัดจํานวน ดังเชน
(13) ก [ α feature ] ข. [α feature ]
X X X X X X
แผกระจายจากซายไปขวา แผกระจายจากขวาไปซาย
ตัวอยางเชน เสียงวรรณยุกตในภาษาทมาง (Tamang) ในตระกูล Tibeto-Burman (จาก Tumtavitikul 1986
( ขอมูลจาก Hari 1970 ) )
(14) H L
h
[ k a ] “ มา ”
H L
h
[[ k a ] –p a ] “ มา ” (present tense)
H L
h
[[[ k a ] –pa ] –la] “ มา ” (past perfect tense)
H L
[[[ k a -ri] –pa ] –la] “ มา ” (past continuos tense)
h