Page 87 -
P. 87

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี




                           80
                                    สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                           บทที่ 8  สัทสัมพันธ


                                     คุณสมบัติของพยางคที่เนน  มักจะมีความยาวของพยางคยาวกวาพยางคอื่นๆ ในคําเดียวกัน
                           โดยเฉพาะอยางยิ่งในความยาวของแกนพยางค (syllable  nucleus)  หรือ สระ และมักจะมีความดัง

                           ของพยางคนั้นเดนกวาพยางคอื่นๆ ในคําเดียวกัน  และอาจจะมีระดับเสียงสูงต่ํา (pitch) ของพยางคสูงกวา
                           พยางคอื่นๆในคําเดียวกัน  สรุปก็คือวาพยางคที่เนนจะมีลักษณะเดน (prominence)  ในคํา  การเนนพยางค

                           อาจจะมีหลายระดับ (degree) ในคําเดียวกัน

                                     การเนนพยางคยังมีไดหลายระดับ ตั้งแตระดับคํา ( word stress )  จนถึงระดับประโยค

                           ( sentence stress ) เปนระบบโครงสรางการเนนพยางค ( Metrical Structure ) ที่มีกฎเกณฑชัดเจนในแตละ
                           ภาษา โดยทั่วๆ ไปการเนนพยางคมักจะเปนผลกระทบจาก น้ําหนักพยางค ( syllable weight )
                           หรือสวนทายพยางค ( syllable rime )  ของพยางคตางๆ ในคําเปนพื้นฐานสําคัญ พยางคที่ไมเนน

                           ( unstressed syllable )  มักจะมีคุณสมบัติลดรูปสระ ( reduced vowel )  คือออกเสียงไมเต็มเสียงสระ
                           ( full vowel )  เหมือนกับพยางคเนน สระลดรูปมักจะเขาใกลสระแนวกลาง ( neutral vowel )  คือ
                           [‹] และมักจะมีชวงความยาวของเสียงสระสั้นกวา มีความดังหรือความเขมขนของเสียงนอยกวาสระใน

                           พยางคที่เนน ( stressed vowel )

                                        ตัวอยางภาษาที่กําหนดตําแหนงของพยางคที่เนนในคํา  เชนภาษาฮังการี  (Hungarian)

                           จะมีพยางคแรกเปนพยางคเนนเสมอ ภาษาตุรกี (Turkish)  จะมีพยางคสุดทายเปนพยางคเนนเสมอ
                           และภาษาโปแลนด (Polish)  จะมีพยางครองสุดทาย (penultimate  syllable)  เปนพยางคเนนของคํา

                           ภาษาเชนนี้ไมจําเปนตองเขียนเครื่องหมายเนนพยางค  เพราะจะมีกฎทางเสียงที่กําหนดพยางคที่ 1,  ที่ 2,
                           รองสุดทาย หรือ พยางคสุดทายเปนพยางคเนนอยางชัดเจน ตัวอยางเชน ภาษาโปแลนด (Polish)
                           (Kenstowicz, 1994:551-2)


                           (8)          nauczy¸ciel         ‘teacher’     “ครู”        nom. Sg,

                                        nauczycie¸la        ‘teacher’s’   “ของครู”      gen. Sg,
                                        nauczycielo¸wi      ‘to teacher’     “แดครู”     dative sg,

                                        ในภาษาที่มีกฎการเนนพยางค  กฎนี้อาจขึ้นอยูกับชนิดของหนวยคํา  หรือน้ําหนักของ

                           พยางค  กฎที่ขึ้นอยูกับชนิดของหนวยคํา  ไดแก คํานามและคํากริยา 2  พยางคในภาษาอังกฤษ  หากทํา
                           หนาที่เปนนามจะเนนที่พยางคแรก  แตหากทําหนาที่เปนกริยาจะเนนที่พยางคที่ 2 เชน
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92