Page 90 -
P. 90

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี




                                    สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                           บทที่ 8  สัทสัมพันธ  83

                                 8.3.1        การลาดเสียงลงต่ํา (downdrift)

                                        มีลักษณะเสียงวรรณยุกตสูง/ต่ํา  (High/Low)    ของคําหรือพยางคในวลีหรือประโยค

                           ลาดเสียงลงต่ํา โดยลดหลั่นระดับเสียงไปตามลําดับพยางคและคํา  ตั้งแตตนประโยคหรือวลีจนจบ
                           ประโยคหรือวลี  ทําใหวรรณยุกตเสียงสูง/ต่ํา ในตนประโยคหรือวลี  มีระดับเสียงสูงกวาวรรณยุกตเสียง

                           สูง/ต่ําในทายประโยคหรือวลีเดียวกัน ตัวอยางเชน ภาษาทีฟ (Tiv) (Pulleyblank 1986:27)


                           (16)         ก.      a      ve    Ia           ข.     a      dza   Ia
                                               H         H     H                 H          L    H


                                               [                ]                [        _   -  ]


                                                    “เขาไมไดมา”                       “เขาไมไดไป”
                                                  ‘he did not come’                      ‘he did not go’

                                        คําปฏิเสธ [Ia¸]  ‘not’  ใน(16)  ก.  จะมีระดับเสียงสูงเทากับ [a¸]  และ [ve¸]  แต [Ia¸]
                           ในขอ (16)  ข.  จะมีระดับเสียงตาง โดยจะต่ําลงและต่ํากวา [a¸]  เนื่องจากไดรับอิทธิพลจาก [dzaº]

                           ซึ่งมีวรรณยุกตเสียงต่ํา ทําใหลดเสียงต่ําลงกวาระดับเสียงสูงของ [a¸]

                                 8.3.2  การลดขั้นเสียง (downstep)


                                        มีการลดระดับขั้นเสียงวรรณยุกตเสียงสูงที่มีวรรณยุกตเสียงต่ํานําหนาเปนบริบทหรือ
                           ตัวกระตุน  และวรรณยุกตเสียงต่ํานั้นสูญไป  เชนในภาษาจาง (Dschang)  ซึ่งเปนภาษา Bantu  (  ขอมูล

                           จาก Hyman & Tadadjeu, 1976 ใน Pulleyblank, 1986:44)

                           (17)           a   +     pu      mn             [aº !pu¸ !mn¸]       “แขนของเด็ก” (arm of child)

                                         L          LH      LH


                                 ! H    =      downstep high tone

                                        เสียงวรรณยุกตในกลุมภาษาแถบเอเชียนั้น  มักจะมีพฤติกรรมที่มีปฎิสัมพันธกับ
                           พยัญชนะเสียงกักตนพยางค  (consonant onset and tone interaction) ทั้งในการพัฒนาเสียงเชิงประวัติและ
                           ในพฤติกรรมทางเสียงในภาษาปจจุบัน ภาษาในแถบแอฟริกาก็มีพฤติกรรมทางเสียงในลักษณะนี้ดวย
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95