Page 89 -
P. 89

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี




                           82
                                    สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                           บทที่ 8  สัทสัมพันธ

                                        ภาษาอังกฤษมีกฎการเนนพยางคเมื่อมีการเปลี่ยนการเนนพยางค ก็จะมีการแปรเสียง

                           สระคือ เกิดการลดเสียงสระจากสระเต็มรูปเดิมเปนสระลดรูปใกลแนวกลาง [‹] ดังนี้

                           (14)  V(→  ‹ /                  โดยที่     V( =   พยางคไมเนน

                           8.3  วรรณยุกต   (Tone)

                                  วรรณยุกตเปนเรื่องของระดับเสียงสูงต่ํา  (pitch) ที่ทําใหเกิดความแตกตางของความหมายของคํา
                           เชน  ในภาษาไทย  คําทั้ง 5 นี้มีความหมายตางกันโดยเสียงวรรณยุกต :

                           (15)                naÖ          ‘นา’
                                               naºÖ         ‘หนา’

                                               na¼Ö         ‘หนา’
                                               naÖ¸         ‘นา’

                                               na½Ö         ‘หนา’

                                 เสียงวรรณยุกตจัดเปน 2  ประเภท คือ วรรณยุกตเสียงระดับ (level  tone)  และวรรณยุกตเสียงขึ้น
                           หรือตก (contour tone) เปนที่ถกแยงกันในระหวางนักภาษาศาสตร  (นักสัทวิทยา) วา วรรณยุกตเสียงขึ้น

                           หรือตกนั้น จัดเปนหนวยเสียงเดียว (unit contour tone หรือ unit toneme) หรือเปนเสียงที่เกิดจากการเอื้อน
                           เสียงของวรรณยุกตเสียงระดับหรือเสียงระนาบ 2-3  เสียง (sequence  of  level  tones)  ตัวอยางเชน
                           เสียงขึ้น คือต่ํา-สูง ( Low-High, L H)  และเสียงตกคือสูง-ต่ํา (High-Low, H L)  เฮาส (House,1990)

                           ไดศึกษาวรรณยุกตเสียงขึ้นหรือตกและไดสรุปคุณสมบัติสําคัญ 3  ประการสําหรับวรรณยุกตชนิดนี้
                           ที่ผูพูด/ผูฟงรับรูเปนหนวยเสียงเดียว (unit  contour)  วาตองมีความยาวของเสียงสระอยางนอย 100

                           มิลลิเซคคันด เอื้อนเสียงวรรณยุกตตองเริ่มพรอมกับเสียงสระและเอื้อนเสียงวรรณยุกตตองเกิดในชวงนิ่ง
                           ของสระคือไมอยูระหวางชวงตอของการเปลี่ยนเสียงสระกับพยัญชนะในพยางคเดียวกัน
                           วรรณยุกตเสียงขึ้นหรือตกที่ขาดคุณสมบัติทั้ง 3  นี้ ผูพูดและผูฟงรับรูเปนเสียงระดับ ต่ําหรือสูง


                                 กลุมภาษาที่พบวามีเสียงวรรณยุกตสวนมากอยูในบริเวณเอเชียตะวันออก และตะวันออกเฉียงใต

                           และในทวีปแอฟริกา

                                 ภาษาในทวีปแอฟริกาจะมีพฤติกรรมเสียงวรรณยุกตที่เรียกวา “ลดขั้นเสียง” (down step)  และ
                           “ลาดเสียงลงต่ํา” (downdrift)  และภาษาในแถบเอเซียจะมีพฤติกรรมเสียงวรรณยุกตที่เรียกวา “วรรณยุกต
                           สนธิ” (tone sandhi)
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94