Page 80 -
P. 80
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 7 ทฤษฎีสัทวิทยาอัตภาค 73
7.5.2 อนุภาคลอย ( Floating Segment)
โกลดสมิธ (Goldsmith, 1976 , 1990 ) พิสูจนความเปนอัตภาคของเสียงวรรณยุกต
โดยยกตัวอยางวรรณยุกตลอย (floating tone) ในระดับลึก ซึ่งจะปรากฎตัวในระดับผิว (phonetic form)
ตอเมื่อมีการเชื่อมโยงกับ V segment บน CV-tier และยกตัวอยาง tone affix คือเสียงวรรณยุกตที่เปน
T
หนวยคํา (morpheme) ในตัวเอง ไมมีพยัญชนะหรือสระ (phonetic content) อื่นนอกจากเสียงวรรณยุกต
เมื่อไปทําหนาที่ประสานกับคําอื่นก็จะปรากฎตัวรวมกับคํานั้นๆ
ตัวอยางอนุภาคลอยในภาษาไทยไดแก หนวยคําที่มีแตวรรณยุกตเสียงสูง (High
H
tone morpheme) ซึ่งทําหนาที่เพิ่มความหมายใหเขมขนขึ้น(intensifier)ในภาษาไทยโดยไมมีเสียงพยัญชนะ
หรือสระ (phonetic content) ในตัวเอง เสียงพยัญชนะและสระของหนวยคํา (phonetic content) จะไดมา
จากการพิมพแบบ (reduplication) จากคําที่เปนรากศัพท เชน
(8) H
[ RED ] ‘intensifier’
L H H L H
*
h
h
k a a w > k a a w – k a a w “ ขาว ”
M H M
d a m > d a m - d a m “ ดํา ”
L H L
t a m > t a m - t a m “ ต่ํา ”
H L H H L
p r i a w > p r i a w – p r i a w “ เปรี้ยว ”