Page 79 -
P. 79

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                                  สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                          บทที่ 7 ทฤษฎีสัทวิทยาอัตภาค
                           72


                          7.5  พิสูจนอัตภาค

                              จุดสําคัญของการพิสูจนอัตภาคก็คือความเปนอิสระของอนุภาคตอกันและกันในระหวางชั้นสวน
                          2 ชั้นสวน
                                 7.5.1 ความคงที่ของอนุภาค (Stability)

                                        ในการพิสูจนอัตภาค โกลดสมิธ (Goldsmith, 1976 , 1990) ยกตัวอยางเสียงวรรณยุกต
                          ซึ่งเปนอนุภาคอิสระที่เชื่อมโยงกับอนุภาคอิสระ ใน CV-tier โดยแสดงใหเห็นวาในบางภาษา เมื่ออนุภาค

                          V  สูญหายไปโดยกฎการแปรเสียง  อนุภาควรรณยุกตจะคงตัวอยูไมไดสูญไปดวย  และจะไปเชื่อมโยงกับ
                           อนุภาค V  ตัวอยางในภาษาไทยไดแก  ความคงที่ของเสียงวรรณยุกตในการประสมประสานคํา  เชน
                                        (6)     H      L   H                        H   L    H


                                              m a ?           h  a    a    +   o o r a a n     >                m  a ?  h    a      a    +  o o r a a n


                                               “มหา”               “โอฬาร”             ø     ø

                                                                                  H    L  H

                                                                              >       m  a ? h    o    o r a a n
                                                                                 (H ไมแผกระจาย)
                                                                                    H   L  H     M


                                                                              >       m  a ? h    o    o r    a a n
                                                                                 (Mid-default)


                                        (7)      L           L      H               L        L    H

                                                                                h
                                              h  a  t  t*   h  a     a    +   i i     >      h    a  t t        a       a    + i i


                                               “หัตถา” “suffix”                       ø      ø
                                                                                  L    L  H


                                                                                     h
                                                                          >            h a  t t     i     i
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84