Page 78 -
P. 78

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                                  สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                          บทที่ 7 ทฤษฎีสัทวิทยาอัตภาค  71


                                        (2)           *  C  V      V      V



                                                            H      L      H
                                        กฎของการเชื่อมโยงนี้ จะเชื่อมโยงอนุภาคระหวางชั้นสวน 2 ชั้นสวน ในทุกๆ โอกาสที่
                          เปนไปได คือเมื่อมีการผสมผสานคํา หรือมีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นระหวางเสียง ทําใหเกิดภาวะที่มี

                          อัตภาคที่ยังไมไดมีเสนเชื่อมโยงระหวางสองชั้นสวน แตกฎเฉพาะของภาษาอาจทําใหกฎการเชื่อมโยง
                           แตกตางกันไปในแตละภาษา เชนในบางภาษาอาจมีกฎขอ 3. เพิ่ม ดังนี้

                                 3. หากชั้นสวนหนึ่งมีจํานวนอัตภาคมากกวาอีกชั้นสวนหนึ่ง ใหเชื่อมอัตภาคที่เหลือ กับอัตภาค

                                     สุดทายในชั้นสวนตรงขาม  ตัวอยางเชน
                                        (3)           C     V      V


                                                            H      L      H
                                        สวนอนุภาคในชั้นสวนใดจะเชื่อมโยงกับอนุภาคในอีกชั้นสวนนั้น จะตองบงไวใน

                          การเขียนแผนภูมิ เชน  [ + syllabic ] , [ α High] แปลวา อนุภาคที่เปนเสียงสระ คือ V ในชั้นสวน CV
                          จะเชื่อมโยงกับเสียงวรรณยุกต [ + High ] หรือ [ - High] ในชั้นสวนของเสียงวรรณยุกต (tonal tier) ฉะนั้น
                          ในการเชื่อมโยงอนุภาคเสียงวรรณยุกต จะถูกเชื่อมโยงกับอนุภาค V  เทานั้น อนุภาคที่เปน C  ใน CV-tier

                           ก็จะถูกเวนขามไป ดังตัวอยางขางลางนี้

                                        (4)                 [ + High ]           [ - High ]                        [ + High ]

                                               C      C     V      C      V      V     C

                                        โดยทั่วๆ ไปเสียงวรรณยุกตจะรองรับดวยเสียงสระ แตเนื่องจากมีภาษาที่เสียงกักโฆษะ
                          (voiced obtruents) ทําใหเกิดเสียงต่ํา (tone depressing)  เชนภาษา Digo  (ตระกูล Bantu)  ซึ่งในการเขียน
                          แผนภูมิอัตภาคก็จะไดอนุภาค C ที่เปนเสียงกักโฆษะเชื่อมโยงกับอนุภาควรรณยุกตเสียงต่ํา ดังในตัวอยาง

                          ขางลางนี้ ฉะนั้นทฤษฎีนี้ไมไดจํากัดวาอนุภาคที่รองรับเสียงวรรณยุกต (tone bearing unit) จะตองเปนสระ
                          เทานั้น (Goldsmith, 1990:44-45)

                                        (5)                 [ - son ]


                                                            [ + vce ]

                                                                  C

                                                            [ + Low ]
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83