Page 42 -
P. 42
ิ
ุ
ื
ิ
ิ
ิ
ั
์
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
โจทก์จะนาเช็คพิพาทมาฟองจ าเลยในนามส่วนตัวไมได้ โจทก์ไมใช่ผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมาย เปนข้อ
่
่
้
็
็
ต่อสู้ระหว่างโจทก์กับจ าเลย จ าเลยสามารถยกต่อสู้ได้ แม้เช็คพิพาทเปนเช็คผู้ถือและอยูในความ
่
่
ครอบครองของโจทก์ แต่ฐานะผู้ทรงโดยการถือเช็คผู้ถือจะต้องเปนไปโดยชอบด้วย จ าเลยสั่งจายเช็ค
็
่
้
พิพาทเพือประกันการช าระหนีค่าสินค้าที่ห้างหุ้นส่วนจ ากัด ก. สั่งซือจากบริษัท ห. ... โจทก์ในฐานะ
้
กรรมการผู้จัดการของบริษัท ห. ย่อมทราบดีว่าเช็คพิพาททีจ าเลยสั่งจ่ายให้แก่บริษัท ห.ไม่ใช่สั่งจ่ายเพื่อ
่
้
่
็
ช าระหนีให้แก่โจทก์เปนการส่วนตัวโจทก์จึงไมใช่ผู้ทรงเช็คพิพาทโดยชอบด้วยกฎหมาย ไม่มีสิทธิบังคับ
ให้จ าเลยรับผิดต่อโจทก์ตามเช็คพิพาทได้
ี
้
ค าพิพากษาฎีกานท าเห็นว่า ศาลได้วินิจฉัยว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้ทรงเช็คโดยชอบด้วยกฎหมาย เพราะ
้
เช็คนีเปนการออกให้กับบริษัท ห. ไมได้ออกให้กับโจทก์เปนการส่วนตัว แม้เช็คนีจะเปนเช็คผู้ถือ แต่
็
้
็
่
็
้
่
โจทก์ก็ไม่ใช่ผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมาย เพราะโจทก์ไม่มีมูลหนีเดิมทีจะบังคับเอากับจ าเลยได้
้
้
่
ประเด็น: ควำมรับผิดของผูใหตั๋วเงินโดยเสนหำ
่
้
จากทีได้อธิบายข้างต้นจะเห็นได้ว่า ผู้ทรงต้องมีอ านาจแห่งมูลหนีที่จะถือและบังคับให้มีการใช้
่
เงินตามตั๋วเงิน จึงเกิดค าถามขึ้นมาว่า หากมีการนาตั๋วเงินไปให้โดยเสนหาจะมีผลอย่างไร ผู้ให้ตั๋วเงิน
็
่
่
โดยเสนหาจะมีความรับผิดเช่นใด และบุคคลทีรับการให้นั้นจะถือเปนผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม ่
่
้
ี่
็
เช่น ตัวอย่ำงท 2.9 นายเปนต่อออกเช็คสั่งให้ธนาคาร A เพือช าระหนีให้กับนางสาวทิพย์ ต่อมานางสาว
ี่
่
ทิพย์นาเช็คนีไปสลักหลังและส่งมอบเพือท าบุญให้กับวัด ดังรูปท 2.11
้
นายเปนต่อ ออกเช็คเพือช าระหนี ้
่
็
ธนาคาร A นางสาวทิพย์ วัด
ให้โดยเสนหา
่
รูปท 2.11
ี่
ในประเด็นเรืองการให้ นอกจากจะต้องพิจารณาตามกฎหมายตั๋วเงินแล้ว จะต้องนาบทบัญญัติ
่
้
่
เรือง สัญญาให้ทีบัญญัติในมาตรา 523 มาพิจารณาด้วย มาตรานีบัญญัติว่า “การให้นั้น ท่านว่าย่อม
่
่
สมบูรณต่อเมื่อส่งมอบทรัพย์สินที่ให้” ดังนี หากตามตัวอย่ำงท 2.9 วัดทีได้รับเช็คจากนางสาวทิพย์ น า
ี่
์
้
้
่
์
เช็คไปขึนเงินกับธนาคาร และธนาคารได้จายเงินตามเช็ค ก็ย่อมถือว่าการให้นั้นสมบูรณ เพราะมีการส่ง
มอบทรัพย์สิน (เงิน) ทีให้แล้ว นอกจากนี หนีเดิมระหว่างนายเปนต่อและนางสาวทิพย์ก็จะระงับไปตาม
้
่
้
็
่
มาตรา 321 วรรคสาม ดังนั้น หากมีการให้ตั๋วเงินโดยเสนหา และตั๋วนั้นสามารถเรียกเก็บเงินได้ ปญหา
ั
้
ทางกฎหมายก็จะไม่เกิดขึน
41
เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายว่าด้วยตั๋วเงิน โดย อ. ดร. ชีวิน มัลลิกะมาลย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์