Page 44 -
P. 44
ิ
ิ
ั
์
ื
ิ
ิ
ุ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
้
ทรงเช็คพิพาทจึงเปนผู้เสียหายมีอ านาจฟองจ าเลยในความผิดต่อพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิด
็
จากการใช้เช็คฯ
้
็
่
ค าพิพากษาฎีกานีท าให้เห็นว่า ตั๋วเงินสามารถให้โดยเสนหาได้ และผู้รับตั๋วเงินจะเปนผู้ทรงโดย
้
้
่
้
้
่
่
ี
ชอบด้วยกฎหมาย ท าให้ผูใหโดยเสนหำมควำมรับผิดตอผูทรง อย่ำงไรก็ตำม ดวยควำมเคำรพตอ
ี
่
่
ศำลฎกำ ผูเขยนเห็นว่ำ ผู้รับการให้ไมควรต้องรับผิดต่อผู้ทรง เพราะผู้ทรงไม่มีอ ำนำจแหงมูลหนท ี่
ี
ี
้
้
้
่
จะถอและบังคับใหมกำรใชเงินตำมตั๋วเงิน เนืองจากสัญญาให้น่าจะยังคงไม่สมบูรณ เพราะยังไมมี
์
ื
่
้
ี
การส่งมอบทรัพย์สิน คือ เงิน ทีมุ่งจะให้อย่างแท้จริง ผู้ทรงจึงไมควรจะมีสิทธิฟองผู้ให้ได้โดยตรง เพราะ
้
่
่
้
่
่
ในสัญญาให้ตามปกติผู้ให้ (เช่น นางสาวทิพย์) แทบจะไมมีหนาทีทีจะต้องท าอะไรให้กับผู้รับการให้
่
(เช่น วัด) กฎหมายจึงบัญญัติว่าการให้นั้นสมบูรณเมือส่งมอบ หากผู้ให้มีความรับผิดต่อผู้รับการให้ก็
์
่
็
็
ุ่
่
เสมือนหนึงเปนการบังคับให้ผู้ให้ “ให้ทรัพย์สิน” แก่ผู้รับซึ่งดูจะเปนการขัดต่อความมงหมายของสัญญา
ให้
ในประเด็นนี หากเทียบเคียงกับกฎหมายตราสารเปลียนมือ (Negotiable Instruments) ของ
้
่
่
่
ประเทศสหรัฐอเมริกา Beatty, Samuelson และ Abril ได้อธิบายว่าไว้ว่า ตราสารเปลียนไมสามารถโอน
59
่
เพือให้โดยเสนหาได้
่
59 รายละเอียดโปรดดู Jeffrey F Beatty, Susan S Samuelson and Patricia Sánchez Abril, Essentials of Business
Law (6 edition Cengage 2019) 590 (“Someone who receives a negotiable instrument as a gift is not a
th
holder in due course because he has not given value.”)
43
เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายว่าด้วยตั๋วเงิน โดย อ. ดร. ชีวิน มัลลิกะมาลย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์