Page 43 -
P. 43
ิ
ิ
์
ุ
ั
ื
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
่
ค าถามทีเกิดขึน คือ หากวัดนาเช็คไปยืนให้ธนาคารจายเงินแล้ว แต่ธนาคารปฏิเสธการจายเงิน
่
่
้
่
่
้
เพราะเงินในบัญชีไม่พอจ่าย วัดจะสามารถฟองให้นางสาวทิพย์ผู้ให้โดยเสนหารับผิดได้หรือไม่
์
่
่
เมือเช็คไมสามารถเรียกเก็บเงินได้ จึงเกิดค าถามว่า การให้โดยเสนหามีผลสมบูรณแล้วหรือไม ่
่
่
กรณีนียังมีมาตราทีเกี่ยวข้องอีกมาตราหนึง คือ มาตรา 524 ซึ่งบัญญัติว่า “การให้สิทธิอันมีหนังสือตรา
่
้
้
สารเปนส าคัญนั้น ถ้ามิได้ส่งมอบตราสารให้แก่ผู้รับ และมิได้มีหนังสือบอกกล่าวแก่ลูกหนีแห่งสิทธินั้น
็
์
่
็
็
่
่
ท่านว่าการให้ย่อมไมสมบูรณ” มาตรานีกล่าวเปนนัยว่า หากมีการให้ตั๋วเงินซึงเปนตราสารอย่างหนึง
้
็
ผู้ให้ตั๋วนอกจากจะต้องสลักหลังและส่งมอบตามกฎหมายตั๋วเงิน ในกรณีที่เปนตั๋วระบุชือแล้ว (หรือส่ง
่
็
้
มอบในกรณีที่เปนผู้ตั๋วผู้ถือ) ผู้ให้ตั๋วยังต้องบอกกล่าวไปยังลูกหนีแห่งสิทธินั้น กล่าวคือ นางสาวทิพย์
้
็
่
จะต้องบอกกล่าวไปยังนายเปนต่อผู้สั่งจ่ายให้รับทราบถึงการให้โดยเสนหา และการบอกกล่าวเช่นนีจะ
ท าให้การให้สมบูรณ ์
ในประเด็นนีผูเขยนมีควำมเห็นว่ำ ผู้โอนเช็คไม่จ ำเปนตองแจ้งให้ผู้สั่งจายทราบ เพราะการ
่
้
้
้
ี
็
้
่
แจ้งเช่นนไมนาจะท าให้เกิดความผูกพันใดๆ กับผู้สั่งจ่ายทีมีหนีอันต้องรับผิดตามตั๋วเงินอยู่แล้ว เพราะผู้
่
่
้
ี
่
สั่งจาย หรือ ผู้สลักหลังก็ย่อมมีความรับผิดตามตั๋วเงินตามมาตรา 914 ในฐานะผู้ลงลายมือชือในตั๋วเงิน
่
่
อยูแล้ว ผูเขยนมีควำมเห็นว่ำ ผู้โอนตั๋วเงินสามารถโอนตั๋วได้โดยการสลักหลังและส่งมอบในกรณีตั๋ว
ี
้
่
่
57
็
ระบุชือ หรือ สามารถโอนตั๋วได้โดยไมจ าเปนต้องมีการแจ้งให้ผู้รับโอนทราบ แต่หากผู้รับโอนไปเรียก
่
้
่
ื
เก็บเงินจากผู้จ่าย และถูกผู้จ่ายปฏิเสธการจายเงิน เมอผูรับโอนมำฟองใหผูโอนรับผิด ผู้เขยนเห็นว่ำ
ี
้
้
้
่
ผู้โอนนำจะสามารถยกข้อต่อสู้ได้ว่า ผู้รับโอนไม่ใชผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายได้ เนืองจาก ผู้รับโอนไม่
่
่
ี
ื
ี
ี
่
่
ู
ี
้
้
้
์
มอ ำนำจแหงมลหนทจะถอและบังคับใหมกำรใชเงินตำมตั๋วเงิน เพราะสัญญาให้ยังไม่สมบูรณ เช่น
นางสาวทิพย์สามารถต่อสู้วัดได้ว่า วัดไมใช่ผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมาย กรณีเช่นนี วัดก็ควรจะไปฟอง
่
้
้
นายเปนต่อผู้สั่งจ่ายให้รับผิดตามเช็ค
็
่
ี
ี
้
อย่างไรก็ตามในประเด็นนีได้เคยมีค ำพิพำกษำฎกำท 3814/2533 ทีศาลได้วินิจฉัยภายใต้
่
58
พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ. 2497 ในคดีนี จ าเลยออกเช็คพิพาทมอบ
้
่
ให้แก่โจทก์เพือยืนยันว่า จ าเลยรักใคร่โจทก์ จ าเลยจะสมรสกับโจทก์เปนการให้เงินตามเช็คแก่โจทก์โดย
็
้
้
็
่
มีมูลหนีบังคับกันได้ การออกเช็คพิพาทของจ าเลยในลักษณะเช่นนีไมเปนการขัดขวางต่อความสงบ
่
็
เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนเมือธนาคารปฏิเสธการจายเงินตามเช็คพิพาท โจทก์ซึ่งเปนผู้
่
ั
ั
57 ท่านสถิตย์ เล็งไธสง ได้อธิบายไว้ในหนังสือว่า “ตั๋วเงินน้นใช้แทนเงินสด หากสลักหลังให้ใครหมายถึงให้เงินแก่คนน้น
้
เหมือนกับให้เงินเลยทีเดียว คอยวันถึงก าหนด เพราะฉะนั้น การสลักหลังตั๋วเงิน จึงกระท าไปเพื่อการช าระหนี ถ้าผู้ทรง
ตั๋วเปนหนีใคร หรือ เสนหาอยากจะให้เงินแก่ใครก็สลักหลังให้ผู้นั้นได้…” (สถิตย์ เล็งไธสง, ค าอธิบายกฎหมายพาณิชย์
่
็
้
3 ภาค 2 ว่าด้วยตั๋วเงิน (บริษัท ธรรมสาร จ ากัด 2551) หนา 55-56)
้
58 ในเวลาต่อมา พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2497 ได้ถูกยกเลิก และให้ใช้
พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 แทน
42
เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายว่าด้วยตั๋วเงิน โดย อ. ดร. ชีวิน มัลลิกะมาลย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์