Page 46 -
P. 46
ั
ุ
ิ
ิ
์
ิ
ิ
ื
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
่
่
่
ต้องการสั่งให้ลูกหนีของตนจายเงินตามตั๋วแลกเงิน ผู้สั่งจายก็ต้องระบุให้ชัดเจนว่า เอกสารทีตนเองท า
้
ี
่
ี
่
้
ขึนเปน “ตั๋วแลกเงิน” ทั้งนี ในค ำพิพำกษำฎกำท 2326/2526 ศาลฎีกาได้วินิจฉัยว่า การเขียนชือ ตั๋ว
้
60
็
แลกเงิน อาจจะใช้เปนภาษาอังกฤษว่า “first of exchange” ก็ได้
็
้
่
ี
็
่
นอกจากนี ในค ำพิพำกษำฎกำท 3871/2536 ซึงเปนคดีเกียวกับตั๋วสัญญาใช้เงินซึงหลักการ
่
่
ี
เดียวกันกับตั๋วแลกเงิน ศาลได้วินิจฉัยว่า “เอกสารทีท าขึนระหว่างโจทก์จ าเลย ไมมีข้อความตอนใดที ่
61
่
่
้
ระบุว่าเปน ‘ตั๋วสัญญาใช้เงิน’ มีแต่ข้อความว่า ‘ตั๋ว’ เอกสารดังกล่าวจึงขาดสาระส าคัญของตั๋วสัญญาใช้
็
่
เงินทีบัญญัติไว้ในมาตรา 983(1) จึงมิใช่ตั๋วสัญญาใช้เงิน” ค าพิพากษาฎีกานีเปนการยืนยันว่า การเขียน
้
็
็
ชื่อของตราสารว่าถือเปนสาระส าคัญ
่
่
้
็
่
3.2 ค ำสั่งอันปรำศจำกเงือนไขใหจำยเงินเปนจ ำนวนแนนอน
่
็
่
็
่
ผู้เขียนจะแบ่งประเด็นออกเปนเปน 3 ประเด็นย่อย ประเด็นแรก ผู้สั่งจายสั่งให้ผู้จายจายเงิน
62
่
ี
ี
็
่
็
่
ต้องเปน “ค าสั่ง” โดยในค ำพิพำกษำฎกำท 1539/2530 ซึ่งเปนคดีเกียวกับเช็คทีใช้หลักการเดียวกัน
่
ศาลได้วินิจฉัยว่า การใช้ค าว่า “โปรดจ่าย” ก็ถือเปนค าสั่งอย่างหนึง
็
ี่
ประเด็นทสอง ค าสั่งนั้นต้อง “ปราศจากเงื่อนไข” โดยมาตรา 182 ได้อธิบายว่า คือ เหตุการณ ์
63
ในอนาคตทีไมแนนอนว่าจะเกิดหรือไม หากผู้สั่งจ่ายสั่งให้ผู้จ่ายจายเงินโดยเชื่อมโยงกับเหตุการณใน
่
์
่
่
่
่
่
่
่
อนาคตทีไม่แนนอน ค าสั่งนั้นจะกลายเปน “ค าสั่งทีมีเงือนไข” เช่น
็
่
ี่
่
ตัวอย่ำงท 3.1 บริษัท BKL สั่งให้ลูกหนีของตนจายเงินให้กับโรงพิมพ์ แต่มีการก าหนดเงื่อนไข
้
เพิ่มเติมด้วย ดังนี ‘ให้จ่ายเงิน 30,000 บาทแก่ โรงพิมพ์ เมื่อโรงพิมพ์ส่งหนังสือให้บริษัท BKL’ การเขียน
้
ี
้
้
็
ข้อความเช่นนลงในตั๋วแลกเงินจะถือว่า เปนการเขียน “ค ำสั่งอันมีเงื่อนไข” ข้อความนี จะท าให้เอกสาร
้
์
็
่
็
่
ฉบับนีไมสมบูรณเปนตั๋วแลกเงิน เพราะเอกสารฉบับนีไมมีค าสั่งอันปราศจากเงือนไขให้จายเงินเปน
้
่
่
็
จ านวนแนนอน หากมีการส่งเอกสารฉบับนให้โรงพิมพ์ไป โรงพิมพ์ก็จะไม่ถือว่าเปนผู้ทรงตั๋วแลกเงิน
่
ี
้
่
60 เสนีย์ ปราโมช (อ้างแล้วเชิงอรรถที 16) หนา 36
้
่
61 โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 983(1) และมาตรา 984 วรรคหนึง
62 โปรดดูประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 988
็
ิ
63 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชย์ มาตรา 182 “ข้อความใดอันบังคับไว้ให้นิติกรรมเปนผลหรือสิ้นผลต่อเมื่อมี
่
์
เหตุการณอันไม่แนนอนว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ในอนาคต ข้อความนั้นเรียกว่าเงื่อนไข”
45
เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายว่าด้วยตั๋วเงิน โดย อ. ดร. ชีวิน มัลลิกะมาลย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์