Page 16 -
P. 16
ิ
ื
์
ั
ุ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
่
้
วันที 30 กันยายน 2564 เมือถึงวันที 30 กันยายน นางสาวสมรได้น าเช็คไปขึนเงินกับธนาคาร ธนาคาร
่
่
็
้
ปฏิเสธการจ่ายเงิน นางสาวสมรจึงนาเช็คมาฟองคดีนายเปนต่อและนายนิยม
็
็
็
จากข้อเท็จจริงนีเห็นว่า ทั้งนายนิยม และนายเปนต่อก็เปนลูกหนีตามสัญญากู้ แต่นายเปนต่อ
้
้
็
่
ไม่ได้ลงนามร่วมกับนายนยมในเช็ค นายเปนต่อจึงไม่ต้องรับผิดตามเช็ค เพราะบุคคลทีจะต้องรับผิดตาม
ิ
่
่
่
็
็
กฎหมายตั๋วเงิน จะต้องเปนบุคคลทีลงลายมือชือในตั๋วเงินนั้น เมือนายเปนต่อไมได้ลงลายมือชือในเช็ค
่
่
็
้
นายเปนต่อก็ไม่ต้องรับผิดตามเช็คแม้นายเปนต่อจะเปนลูกหนีตามหนีเดิมก็ตาม
12
้
็
็
่
การลงลายมือชื่อในตั๋วเงินน มีประเด็นหลักทีจะต้องพิจารณา 3 ประเด็น คือ
้
ี
2.1.1 การลงลายมือชื่อของบุคคลธรรมดา
2.1.2 การลงลายมือชื่อของนิติบุคคล
2.1.3 การลงลายมือชื่อของตัวแทน
2.1.1 กำรลงลำยมือชอของบุคคลธรรมดำ
ื่
่
้
่
์
ส าหรับการลงลายมือชือนี ศ.ดร. เสาวนีย์ อัศวโรจน ได้อธิบายว่า การลงลายมือชือเปนการ
็
่
่
้
เขียนชือตนเองลงไปโดยมีเจตนาที่จะผูกพันตามตั๋วเงิน ทั้งนี การลงลายมือชือจะเปนภาษาไทยหรือ
13
็
่
่
่
็
่
่
ภาษาอืนก็ได้ การลงชือนั้นจะลงชือตัวโดยไมเขียนนามสกุล หรือ ลงเปนชือสมมติ หรือ นามแฝงก็ได้
็
่
เพราะมีผลเปนการลงลายมือชือเหมือนกัน เช่น ผู้เขียน ชือจริงว่า ชีวิน ผู้เขียนอาจลงชือในตั๋วเงินว่า
่
่
็
่
่
่
นามนต์ ซึ่งเปนชือเล่นของผู้เขียนก็ได้ แต่สิ่งส าคัญ คือ ผู้ทีลงลายมือชือดังกล่าวได้เขียนไว้โดยตั้งใจให้
้
่
่
็
วันทีลงในเช็คนั้นเปนวันถึงก าหนดทีต้องช าระเงินคืน ส าหรับผลแห่งเช็คนั้นตามกฎหมายมีว่าธนาคารต้องจ่ายเงินโดย
็
่
่
่
่
พลันเมือถูกทวงถาม (มาตรา 987) และการทวงถามนั้นในเมื่อยังไม่ถึงก าหนดวันทีลงในเช็คก็เปนทีแนชัดว่าจะกระท า
็
่
มิได้ เพราะวันทีลงในเช็คเปนวันทีผู้สั่งจ่ายสั่งธนาคารให้ใช้เงินแก่บุคคลอีกคนหนึงตามบทบัญญัติกฎหมายทีกล่าวแล้ว
่
่
่
็
์
ฉะนั้น วันทีผู้สั่งจ่ายเขียนเช็คจึงเปนเพียงวันเขียนเช็ค จะถือว่าเปนออกเช็คหาได้ไม่” (อ้างถึงใน ไพฑูรย์ คงสมบูรณ,
่
็
่
ค าอธิบายกฎหมายลักษณะตั๋วเงิน (พิมพ์ครั้งที 5 นิติธรรรม 2561) หนา 358) รายละเอียดเกียวกับเช็คลงวันทีล่วงหนา
่
่
้
้
โปรดดูหัวข้อ 12.2.6
ี
ี
่
็
12 เทียบเคียงค ำพิพำกษำฎกำท 2473/2516 การออกเช็คเปนการสั่งให้ธนาคารใช้เงินต้องถือว่าเปนการช าระหนี้โดย
็
การใช้เช็คแทนเงิน เกิดความผูกพันระหว่างกันในลักษณะตั๋วเงินตามมาตรา 900 ซึงมีผลว่าบุคคลทีลงลายมือชื่อในเช็ค
่
่
้
้
็
่
เท่านั้นทีจะต้องรับผิดตามข้อความในเช็ค แม้ตามฟองได้กล่าวข้อเท็จจริงแสดงว่า จ าเลยที 2 เปนลูกหนีร่วมกับจ าเลยที ่
่
้
้
่
่
1 ในมูลหนีเดิม ก็ไม่ท าให้จ าเลยทีสองต้องรับผิดตามฟองด้วย เพราะจ าเลยที 2 ไม่ได้ลงลายมือชื่อในเช็ค และหากจะ
็
็
้
่
้
ถือว่ามูลหนีเดิมเปนหนีกู้ยืมเงินโจทก์ ก็มิได้มีหลักฐานการก้ยืมเงินเปนหนังสือลงลายมือชื่อจ าเลยที 2 มาแสดง จึงฟอง
้
ู
่
บังคับจ าเลยที 2 ไม่ได้
ิ
์
่
13 เสาวนีย์ อัศวโรจน, ค าอธิบายกฎหมายแพ่งและพาณชย์ว่าด้วยตั๋วเงิน (พิมพ์ครั้งที 7 ส านักพิมพ์
้
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2559) หนา 62
15
เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายว่าด้วยตั๋วเงิน โดย อ. ดร. ชีวิน มัลลิกะมาลย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์