Page 15 -
P. 15
ิ
์
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ี
ี่
่
่
สวนท 1 หลักทั่วไปเกยวกับตั๋วเงิน
่
่
หลักทั่วไปของตั๋วเงินทีจะกล่าวในส่วนนีบัญญัติอยูในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ
้
้
ี่
3 ลักษณะที่ 21 ว่าด้วย “ตั๋วเงิน” ในหมวดท 1 บทเบ็ดเสร็จทั่วไป หลักทั่วไปที่กล่าวในบทนีน าไปใช้
็
่
กับตั๋วเงินทั้งตั๋วเงินทั้ง 3 ประเภทไมว่าจะเปน (1) ตั๋วแลกเงิน (2) ตั๋วสัญญาใช้เงิน และ (3) เช็ค โดย
็
เนือหาในบทนจะอธิบายเกียวกับความรับผิดจากการลงชื่อในตั๋ว และการเปนผู้ทรงตั๋วเงิน ทั้งนี ผู้ทรงตั๋ว
้
้
่
้
ี
้
เงินอาจจะได้รับตั๋วมาจากผู้ออกตั๋วโดยตรง หรือ อาจจะได้รับตั๋วมาจากการโอนก็ได้ ดังนั้น บทนีมีการ
พิจารณาหลักของการโอนตั๋วเงินซึ่งบัญญัติอยู่ในเรืองตั๋วแลกเงิน หลักการโอนตั๋วนีนาไปใช้กับตั๋วสัญญา
้
่
ุ
ใช้เงินและเช็คโดยอนโลมด้วย
้
ื
ื
ี่
่
บทท 2 ควำมรับผิดจำกกำรลงลำยมอชอในตั๋วเงิน กำรโอนตั๋วเงิน และผูทรงตั๋วเงิน
ื
่
ุ
ื
้
้
่
ี
ื
2.1 บคคลทลงลำยมอชอในตั๋วเงินตองรับผิดตำมเนอควำมในตั๋วเงิน
่
บุคคลทีจะต้องรับผิดตามสัญญาตั๋วเงินจะต้องเปนบุคคลทีลงนามในตั๋วเงิน ซึงเปนไปตาม
็
่
่
็
่
่
มาตรา 900 วรรคหนึง ซึงบัญญัติว่า
บุคคลผู้ลงลายมือชื่อของตนในตั๋วเงินย่อมจะต้องรับผิดตามเนือความในตั๋วเงินนั้น
้
็
ตามทีได้กล่าวในบทนาว่า ตั๋วเงินแบ่งออกเปน 3 ประเภท คือ ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน และ
่
่
้
เช็ค การออกตราสารทั้งสามประเภทนี มีรายละเอียดทีก าหนดไว้ในมาตรา 909, 983 และ 988
9
่
ตามล าดับ ส าหรับตั๋วแลกเงินและเช็ค ได้มีการก าหนดว่าต้องมีลายมือชื่อผู้สั่งจาย และส าหรับตั๋วสัญญา
10
้
่
่
ใช้เงินต้องมีลายมือชือผู้ออกตั๋ว การทีบทบัญญัติมาตราเหล่านี ก าหนดว่าจะต้องมีลายมือชือ ก็เพราะ
่
่
มาตรา 900 ก าหนดว่าบุคคลทีจะต้องรับผิดตามตั๋วเงินต้องมีลายมือชื่อในตั๋วเงินนั้น
่
มาตรา 900 ท าให้เห็นว่า บุคคลทีต้องรับผิดตามตั๋วเงินต้องลงลายมือชื่อในตั๋วเงิน หากบุคคลใด
่
่
้
้
็
ไมได้ลงลายมือชือในตั๋วเงิน บุคคลนั้นก็ไมต้องรับผิด แม้บุคคลนั้นจะเปนลูกหนีตามหนีเดิมก็ตาม เช่น
่
ี่
่
ตัวอย่ำงท 2.1 นายเปนต่อ และนายนิยมร่วมกันยืมเงินนางสาวสมรจ านวน 100,000 บาทในวันที 7
็
่
กรกฎาคม 2564 และตกลงว่าจะคืนให้ในวันที 30 กันยายน 2564 นายนิยมได้ออกเช็คซึงเปนตั๋วเงิน
่
็
11
่
้
่
ประเภทหนึง สั่งให้ธนาคารไทยพาณิชย์สั่งจายนางสาวสมร 100,000 บาท โดยลงวันทีล่วงหนา คือ ลง
่
9 ส าหรับตั๋วแลกเงินโปรดดูมาตรา 909(8) และเช็คโปรดดูมาตรา 988(7)
10 ดูมาตรา 983(7)
ี
ี
่
้
11 ค ำพิพำกษำฎกำท 415/2502 ได้อธิบายว่า การออกเช็คลงวันทีล่วงหนา (post-dated cheque) ว่า “วัตถุประสงค์อัน
่
แท้จริงของการลงวันทีล่วงหนาในเช็ค ได้แก่ การผ่อนก าหนดเวลาช าระหนีของผู้สั่งจ่าย หรือ กล่าวอีกนัยหนึงก็คือ โดย
้
่
่
้
่
่
้
่
่
ปกติผู้สั่งจ่ายไม่มีเงินในธนาคารหรือมีเงินไม่พอหรือเงินนั้นมีพันธะผูกพันรายอืนอยู จึงใช้เช็คลงวันทีลวงหนา
่
่
้
นอกจากนี การใช้เช็คลงวันทีล่วงหนาก็เปนประโยชนแห่งการกู้ยืมซึงใช้กันมากในวงการธุรกิจวิธีหนึง ซึงหมายความว่า
์
็
่
้
่
14
เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายว่าด้วยตั๋วเงิน โดย อ. ดร. ชีวิน มัลลิกะมาลย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์