Page 14 -
P. 14
ิ
ิ
์
ุ
ิ
ั
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
ิ
่
(3) ผลทีส าคัญของสัญญาตั๋วเงิน บัญญัติไว้ในมาตรา 914 คือ ผู้สั่งจาย (เช่น นายนิยม หรือ
่
ี่
บริษัท BKL ในตัวอย่ำงท 1.1 และ 1.2) และผู้สลักหลัง (เช่น โรงพิมพ์ตามตัวอย่ำงท 1.2) สัญญาว่า
ี่
็
หากตั๋วนั้นมีการนาไปยื่นโดยชอบจะมีการใช้เงิน หากไม่มีการใช้เงิน ผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลังจะเปนผู้ใช้
้
้
้
เงินเอง หลักกฎหมายนีท าให้เห็นว่า นอกจากเจ้าหนีจะสามารถเรียกให้ลูกหนีช าระหนีตามหนีเดิม
้
้
้
้
่
่
้
้
ตามทีกล่าวใน (2) ได้ เจ้าหนียังสามารถบังคับให้ลูกหนีช าระหนีตามหนีตั๋วเงินได้อีก และในกรณีทีผู้ทรง
่
่
ตั๋วเงินได้ตั๋วเงินมาจากการรับสลักหลัง ผู้ทรงตั๋วเงินก็สามารถฟองได้ไปถึงผู้สั่งจาย ซึ่งไมใช่ลูกหนีตาม
้
้
้
หนีเดิมได้อีกด้วย
้
็
่
จากทีกล่าวมาเปนลักษณะทั่วไปของสัญญาตั๋วเงิน ในเอกสารประกอบการสอนนี ผู้เขียนจะแบ่ง
่
่
ี่
ี่
เนือหาออกเปน 5 ส่วน ดังนี สวนท 1 หลักทั่วไปเกียวกับตั๋วเงิน สวนท 2 ตั๋วแลกเงิน สวนท 3 ตั๋ว
้
ี่
็
่
่
้
่
่
สัญญาใช้เงิน สวนท 4 เช็ค สวนท 5 ลายมือชือปลอม และตั๋วเงินถูกแก้ไข ดังทีกล่าวได้กล่าวในค านา
ี่
่
่
ี่
่
้
่
้
ว่าเนือหาในเอกสารประกอบการนีจะยังไมครบถ้วนสมบูรณ ส าหรับเนือหาบางเรือง เช่น อายุความ
์
้
่
ผู้เขียนไมได้กล่าวไว้โดยเฉพาะเจาะจงแต่ได้นามาพิจารณาประกอบกับเนือหาเรืองอืนๆ เพือให้เกิด
้
่
่
่
ความเข้าใจในภาพกว้างของกฎหมายตั๋วเงิน
13
เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายว่าด้วยตั๋วเงิน โดย อ. ดร. ชีวิน มัลลิกะมาลย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์