Page 9 -
P. 9
ื
ิ
ุ
ิ
ั
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
์
ิ
กฎหมำยตั๋วเงิน
ี่
บทท 1 บทนำ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 898 ได้อธิบายว่า ค าว่า ‘ตั๋วเงิน’ หมายถึง (1) ตั๋วแลก
่
่
้
เงิน (2) ตั๋วสัญญาใช้เงิน และ (3) เช็ค บทบัญญัติเรืองตั๋วเงินนี บัญญัติอยูในบรรพ 3 ของประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เรื่องเอกเทศสัญญา ท าให้เห็นว่า ตั๋วเงินเปนสัญญาประเภทหนึงซึ่งจะต้องอยู ่
็
่
่
้
่
ภายใต้หลักทั่วไปของนิติกรรมสัญญาเหมือนกับสัญญาซือขาย สัญญายืม หรือ สัญญาอืนๆ ซึงอยูใน
่
็
้
บรรพเดียวกัน ดังนั้น หลักพืนฐานของสัญญาไม่ว่าจะเปนการแสดงเจตนาของผู้เยาว์ (ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 21) หรือ การตกลงกันในเรื่องทีขัดต่อกฎหมาย (มาตรา 150) ก็ต้องนามาใช้
1
2
3
่
กับสัญญาตั๋วเงินด้วย อย่างไรก็ตาม สัญญาตั๋วเงินนั้นก็มีความแตกต่างจากสัญญาทั่วๆ ไป เช่น สัญญากู้
้
็
หรือ สัญญาซื้อขาย เพราะสัญญาเหล่านีเปนสัญญาทีก่อให้เกิดสิทธิและหนาทีในตัวสัญญาเอง กล่าวคือ
่
้
่
้
้
้
้
่
สัญญากู้ยืมเงิน ก่อให้เกิดสิทธิแก่เจ้าหนีในการเรียกร้องให้ลูกหนีช าระหนีเงินกู้ และลูกหนีมีหนาทีในการ
้
่
็
้
้
4
้
ช าระหนีเงินกู้ แต่สัญญาตั๋วเงินเปนการสัญญาทีตกลงเพื่อช าระหนี เพื่อประกอบความเข้าใจมากขึนใน
์
่
ั
้
การท าสัญญาตั๋วเงิน ผู้เขียนจะยกตัวอย่างเหตุการณทีเกิดขึนในปจจุบัน
็
้
ตัวอย่ำงท 1.1 นายนิยมต้องการซือรถยนต์จากนายเปนต่อราคา 150,000 บาท และนายเปน
ี่
็
็
ต่อตกลงขายรถยนต์ให้ สัญญาระหว่างนายนิยมและนายเปนต่อเปนสัญญาซือขาย ซึงจะก่อให้เกิดหนี ้
็
่
้
ตามสัญญาซื้อขาย โดยหนาทีทีส าคัญประการหนึงตามสัญญาซื้อขาย คือ การช าระราคาค่ารถยนต์ตาม
่
่
้
่
สัญญาซือขาย นายนิยมในฐานะผู้ซือสามารถปฏิบัติหนาทีนีโดยการจายเงินสดจ านวน 150,000 บาท
่
้
้
้
่
้
็
้
็
ให้กับนายเปนต่อได้ หรือ นายนิยมอาจจะเสนอว่า จะขอโอนเงินให้นายเปนต่อแทนการช าระหนี ท าให้
นายเปนต่อต้องพิจารณาว่า ตนต้องการรับเงินสด หรือ รับเงินโอน หากนายเปนต่อยินดีให้นายนิยม
็
็
ช าระโดยวิธีการโอนเงิน การช าระเงินของนายนิยมก็ย่อมเปนการช าระโดยชอบด้วยกฎหมาย แต่หาก
็
็
็
นายเปนต่อ ไมสะดวกให้นายนิยมโอนเงิน นายนิยมจะบังคับให้นายเปนต่อรับช าระหนีโดยการโอนเงิน
้
่
ไม่ได้
้
้
ี
1 ในเนือหาของเอกสารน หากผู้เขียนใช้ค าว่า “มาตรา” โดยไม่ได้ระบุชื่อกฎหมาย ผู้เขียนจะหมายถึง มาตราตาม
ิ
็
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชย์ แต่หากผู้เขียนอ้างบทบัญญัติของกฎหมายอื่น ผู้เขียนจะระบุชื่อกฎหมายนั้นไว้เปน
การเฉพาะ
2 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชย์ มาตรา 21 “ผู้เยาว์จะท านิติกรรมใดๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบ
ิ
ธรรมก่อน การใดๆ ที่ผู้เยาว์ได้ท าลงปราศจากความยินยอมเช่นว่านั้นเปนโมฆียะ เว้นแต่จะบัญญัติเปนอย่างอื่น”
็
็
็
3 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชย์ มาตรา 150 “การใดมีวัตถุประสงค์เปนการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย.... การ
ิ
็
นั้นเปนโมฆะ”
ิ
4 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชย์ มาตรา 650 วรรคแรก “อันว่ายืมใช้สิ้นเปลืองนั้น คือ สัญญาซึ่งผู้ให้ยืมโอน
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินชนิดใช้ไปสิ้นไปนั้นเปนปริมาณมีก าหนดไปให้แก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินเปน
็
็
ประเภท ชนิด และปริมาณเช่นเดียวกันให้แทนทรัพย์สินซึ่งให้ยืมนั้น”
8
เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายว่าด้วยตั๋วเงิน โดย อ. ดร. ชีวิน มัลลิกะมาลย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์