Page 42 -
P. 42

ิ
                                               ์
                                ื
                                   ิ
                                                                               ั
                                                                                       ุ
                                                   ิ
                                                              ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
               16


               โตเถียงดวยเหตุผล การตีความของความหมาย การปลดปลอยใหเปนอิสระจากการมีเหตุผล และการ
               แสดงตัวตน หรือการสรางคุณคา (Lyotard, 1984, p. xxiii)

                                    ื
                       ความไมนาเชื่อถอของเรื่องเลาขนาดใหญ (Metanarratives) ความสงสัยนี้ไมตองสงสัยในผล
                                                                               
               ที่เกิดขึ้นจากความกาวหนาของวิทยาศาสตร  แตความกาวหนานั้นเปนเพียงขอสันนิษฐาน  ในความ
               ลาสมัยของเรื่องเลาขนาดใหญ  ในระบบของกฎเกณฑทถูกตองตามเหตุผล    ไมวาหลักปรัชญา
                                                                                      
                                                               ี่
                                                             
               วิทยาศาสตรและการศกษาที่ไดสรางวาทกรรมไวกบคำตอบแบบสำเร็จรูป      เรากำลังอยูในโลกท ี่
                                                        ั
                                  ึ
               เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา  ดังนั้นความรูจึงมีลักษณะอยางดีที่สุด  คือเปนความรูแบบชั่วคราวที่ตอง
                                                                               ็
               ปรับเปลี่ยนอยูเสมอ แมแตในวิทยาศาสตรธรรมชาติเอง ความรูในยุคหลังๆ กไดแสดงหลักฐานใหเห็น
                                               ี่
               ชัดเจนวาความคิดแบบนิวตันไมใชสิ่งทถูกตองอีกตอไป  ลีโยตารดเรียกรองใหตั้งคำถามกบการปฏิเสธ
                                                                                        ั
               ในเรื่องเลาขนาดใหญ  ยุคสมัยใหมที่ผูกขาดการใชเหตุผลและความรูทางวิทยาศาสตร  วาเปนการ

                                            ั้
               เขาถึงความจริงในแบบเดียว  อีกทงปญหาเรื่องความล้ำเลิศ  (sublime)  ที่ไมสามารถเขาถึงความรูสึก
               แบบปจเจกได  ซึ่งถอเปนเรื่องฉันทานุมัติที่ไปปดกั้นการแสดงออก  และความรูสึกที่แทจริงของผูคนใน
                                ื
                           
               สังคม  รวมถึงเรื่องการตัดสินในคุณคาพื้นฐานของชีวิตมนุษยคือ  คณคาทางสุนทรียะ  โดยนำเสนอวา
                                              
                                                                      ุ
               การใชประสบการณแบบปจเจกที่ไปสรางความสัมพันธกับการใหความหมาย และคุณคาของมนุษย


























                                  ภาพที 1.12   การรื้อถอนอาคาร Pruitt-Igoe ที่เมืองเซนตหลุยส
                                      ่
                       หมายเหตุ. จาก greyscape.com/modernism-was-framed-the-truth-about-pruitt-igoe/

                                                   
                       แนวความคิดแบบหลังสมัยใหมไดกอตัวขึ้น    โดยเริ่มปรากฏครั้งแรกในสาขาศิลปะและ
               วรรณคดีวิจารณ  กอนที่จะแพรเขาสูสาขาวิชาปรัชญา  และสังคมศาสตรในที่สุด  อยางไรก็ดี  แนวคิด

               แบบหลังสมัยใหมในแนวสังคมศาสตรนั้น มิไดมีความสอดคลองเปนหนึ่งเดียวกัน แตอยางใด ทวากลับ
               เปนแนวคิดที่หลากหลาย (จันทนี, 2544, น. 8 – 9) เหตุการณหนึ่งที่ทำใหเกิดความเปลี่ยนแปลงใน

                                  
               ความคิดแบบสมัยใหมที่เปนรูปธรรม  อันเนื่องมาจากเกดความไมสัมพันธสอดคลองกับวิถีชีวิตผูคนใน
                                                             ิ
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47