Page 40 -
P. 40

ุ
                                            ิ
                                               ์
                                   ิ
                                                              ิ
                                                                               ั
                                ื
                                                   ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
               14


                         การออกจากขอจำกดและขอบเขตทางความหมายของศิลปะรวมสมัย         ที่ความตางเปน
                                          ั
               พื้นฐานทางความคิด สำหรับการวิพากษทั้งเนื้อหา รูปแบบ และเทคนิค ในการสรางงานศิลปะที่เลือก

               วิธีการแสดงออกแบบใดแบบหนึ่ง  มีความหมายเทากับศลปนปฏิเสธวิธีการอื่น  ที่นอกจากวิธีการท ี่
                                                          
                                                               ิ
               ศิลปนเลือก  ไมวาดวยเหตุผลใดก็ตาม  นักวิจารณศิลปะและนักปรัชญาชาวอเมริกัน  อาเธอร  เดนโต
                                                         
               (Arthur  C.  Danto)  ใหนิยามความหมายของศิลปะสอดคลองกับเฮเกล  ที่นำเสนอผายเรื่องเลา

                                                                      ี
                                                    
                                                                                    
               (Narrative)  ซึ่งเดนโตไมไดหมายถึงวาจะไมมีผูใดสรางงานศิลปะอกตอไปหรือจะไมมีงานศิลปะที่ดีอีก
               ตอไป  แตเดนโตมั่นใจวาประวัติศาสตรศิลปะตะวันตกไดมาถึงจุดสิ้นสุด  ในเรื่องเลาของเรา  ที่เริ่มจาก
                                                     ี่
                                                                                        ั
               การเลียนแบบ (Mimesis) เปนศิลปะ และสิ่งทศิลปะ พยายามที่จะดับคูแขง แลวในที่สุดมนก็เห็นไดชัด
                                 
                               
               วา ไมมีรูปแบบ ไมมีขอจำกัดทางปรัชญา ไมมีทางพิเศษที่จะใหเปนงานศิลปะ และในปจจุบันที่ผมควร
               จะพูด ชวงสุดทายนี้ในเรื่องเลาหลัก มันเปนตอนจบของเรื่อง (Danto, 1997, p. 47)
                                                                                 ่
                                                                                 ี
                       ศิลปะรวมสมัย (Contemporary Art) ที่เริ่มกอตัวชวงคริสตทศวรรษท 1950s จากแนวคิด
                                                                                 
               แบบดาดาในชวงสงครามโลกครั้งที่  1  จนมาถึงแนวคิดแบบหลังสมัยใหมที่เริ่มกอตัวหลังสงครามโลก
               ครั้งที่  2  ยุติลงนั้น  แนวคิดหรือลัทธิทางศิลปะไดเกิดการสลายตัว  และมีการรวมแนวคิดทางศิลปะท ี่

               หลากหลายเขาดวยกัน    จนไมสามารถจำแนกประเภทของศิลปะไดอยางชัดเจน  ทั้งเนื้อหา  รูปแบบ
               และเทคนิค  ศิลปนมีอิสระในแสดงออกทางศิลปะ  เกิดการคนหาความหมายของความเปนมนุษยที ่

                                                                           ั
                                           ั
                                                      ี
               แตกตางกันผานงานศิลปะรวมสมย  ศิลปะที่มการแสดงออกอยางไมจำกดดวยรูปแบบ  หลากหลาย
                                                                                        ี
               เทคนิค เนื้อหาในการแสดงออก ความแตกตางทางเชื้อชาติ มีการเปดพื้นที่ใหกับผูคนไดมโอกาสในการ
               นำเสนอและตอบสนองทางความคิด อารมณ ความรูสึกตอปรากฏการณตางๆ ทางสังคม มีอิสระและ
               เสรีภาพในการแสดงออกทางศิลปะมากขึ้น เปนการสะทอนวิธีคิดของคนยุครวมสมัย
                                                             
                                                                        ิ
                                                             ่
                       คริสตศตวรรษที่  20  เปนยุคสมยของการเปลียนแปลง  เกดสงครามของมวลมนุษยชาตครั้ง
                                                                                               ิ
                                                  ั
                           ้
                                                                           ื่
               ใหญถึง 2 ครัง และสงครามตวแทนที่ตอเนื่อง การปฏิวัติและประทวงเพอการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นทั่ว
                                        ั
                                                                              ิ
               ทุกมมโลกอยางในประเทศและเมองตางๆ  ซึ่งสงผลตอการแสดงออกในงานศลปะในยุคนี้  โดยเริ่มจาก
                                              
                                           ื
                   ุ
               ทีศิลปนไดตั้งคำถามกับคุณคาและความหมายของความงามที่เปลี่ยนแปลงไป  ทำใหมมมองทใชมอง
                 ่
                                                                                       ุ
                                                                                             ี
                                                                                             ่
               โลกของศิลปนก็มความแตกตางหลากหลายตามไปดวย  จนมาถึงยุคหลังสงครามที่ขอจำกัดทางความ
                              ี
                                                                                     
               งามและสุนทรียศาสตรแบบเกาไดถูกทำลายลง  ศิลปนไดแสดงออกทางศิลปะผานแนวคิดและมุมมอง
                                                                                           ็
               ตางๆ นับตั้งแต ฟวเจอรริสม (Futurism) ดาดา (Dada) เซอรเรียลลิสม (Surrealism) แอบสแตรค
                                       
                                                                           
                                                                                          ิ
               เอ็กเพรสชั่นนิสม (Abstract Expressionism) คิวบิสม (Cubism) ปอปอารต (Pop art) มนิมอลลิสม  
               (Minimalist) คอนเซ็ปชวล อารต (Conceptual art) แลนดอารต (land art) ฟลัคซุส (Fluxus) และ
               งานศิลปะสื่อใหมตางๆ (New media art) จนถึงงานดิจิทล อารต (Digital art) และงานศิลปะการ
                                                                ั
                                                    ี่
                                         ึ
               จัดวาง (Installation art) จนถงยุคปจจุบันทพัฒนาไปสูงาน Immersive installation art
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45