Page 41 -
P. 41
ิ
ิ
ั
์
ื
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ุ
15
ศิลปะรวมสมัยเขาสูยุคสมยของแนวคดแบบหลังสมยใหม (Postmodernism) เปนชวงเวลาท ี่
ั
ั
ิ
แสดงถึงการยอมรับในความหลากหลายทางความคิด ไมตองการทฤษฎีหรือหลักคิดตายตัว เนื่องจาก
ความเปลียนแปลงของโลกแหงความจริง และความจริงในโลกศิลปะคือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู
่
ตลอดเวลา นับจากศิลปนกลุมดาดา (Dada) ที่ไดสั่นคลอนเรื่องเลาขนาดใหญในโลกศิลปะ โดยกาว
ขามกฎเกณฑทางความงาม และสุนทรียศาสตรในแบบจารีตที่ไมปรับตัวไปกับการเปลี่ยนแปลงของ
ยุคสมัย แนวคิดทางศิลปะแบบดาดาที่ปฏิเสธเหตุผลและความหมายแบบคงท ยังมีอทธิพลสงตอมาถง ึ
ี่
ิ
ศิลปะยุคหลังสงคราม กับคณคาในศิลปะแบบหลังสมัยใหม ที่ใหความสำคัญกับเรื่องเล็กๆ วลีเล็กๆ
ุ
การเปดพื้นที่ใหมในการแสดงออก มีความเปนทองถิ่น เปนเหมือนเรื่องเลาขนาดเล็กในความรูสึกท ี่
ี่
เปนปจเจกแตสามารถไปเปดเผยความงามทใหความหมาย และคุณคาทแตกตางกันบนพื้นฐานของ
ี่
ความเปนมนุษยที่หลากหลาย
แนวคิดแบบหลังสมัยใหมกับงานศิลปะรวมสมัย
แนวคิดทางปรัชญาที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงมีมาตั้งแตยุคปรัชญาโบราณ อยางมุมมองของ
นักปรัชญากรีกโบราณกอนคริสตศกราชอยาง เฮราคลิตุส (Heraclitus) ที่กลาววา “ไมมีใครกาวลงไป
ั
ในแมน้ำสายเดิมไดถึงสองครั้ง เพราะแมน้ำมันไหลไปเรื่อยๆ และธารน้ำสายอื่นๆ ก็ยังคงไหลไป” และ
“ดวงอาทิตยยังเปนดวงใหมของทุกๆ วัน” เปนการสะทอนมุมมองเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใน
ทุกสรรพสิ่ง ซึ่งไมตางไปจากแนวคิดในหลักปรัชญาอินเดียทีเชื่อเรื่องการเกิดขึ้น ตั้งอยูและดับไปตาม
่
กฏธรรมชาติ อีกทั้งหลักคำสอนเรื่องอนิจจัง ความไมเที่ยงในพุทธปรัชญา รวมถึงลัทธิเตาที่เชื่อเรื่อง
พลังความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติและจักรวาล ซึ่งแนวคิดดังที่กลาวมาลวนเปนมุมมองที่มนุษยใช
มองโลกและสรรพสิงวา ไมมีสิ่งใดดำรงอยูโดยปราศจากการเปลี่ยนแปลง
่
ิ
แนวคดแบบหลังสมยใหม (Postmodernism) ที่มองเห็นการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยและ
ั
ขอบกพรองของแนวคดแบบสมยใหมทีตองการออกจากขอจำกัดแบบเดิมๆ รวมถึงการตั้งคำถามกับ
่
ั
ิ
ความไมชอบธรรมของยุคสมยใหม ทำใหสงผลกับวิธีคิดและกระบวนการทางปรัชญา อีกทั้งการ
ั
ิ
แสดงออกทางศลปะของแนวคิดหลังสมัยใหม นักปรัชญาอยาง ฌ็อง – ฟร็องซัวส ลีโยตารด (Jean –
Francois Lyotard, ค.ศ. 1924 – 1998) ไดใหนิยามความเปนหลังสมัยใหมไดอยางชัดเจนในหนังสือ
The Postmodern Condition: A Report on Knowledge ไดอธิบายเงื่อนไขของความเปน
หลังสมยใหม (Postmodern) โดยเริ่มจากการตัดสินทางวิทยาศาสตร การใชหลักเหตุผลที่สืบทอดกัน
ั
มาในยุคสมัยใหม กฎเกณฑทางวิทยาศาสตร งานวรรณกรรม และศิลปะ ควรไดรับการพฒนาและปรับ
ั
ใหเขากับบริบท เนื่องจากการสั่งสมของปญหาในเรื่องเลา (Narratives) ลีโยตารดยังอธิบายวา ความ
เปนสมัยใหมไดกำหนดใหวิทยาศาสตรมีความชอบธรรมในตัวเอง ดวยการอางถึงวาทกรรมขนาดใหญ
ที่เปนการสรางแรงจูงใจอยางชัดเจนใหกับเรื่องเลาขนาดใหญ (Meta Narratives) อยางเชน วิธีการ