Page 37 -
P. 37
ุ
ิ
ิ
ื
ั
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
์
11
ี่
็
กระปองซุปทซุปเปอรมาเกต ใหมาอยูในงานศิลปะ โดยใชเทคนิคในการผลิตงานอุตสาหกรรมแบบ
พาณิชยศิลป แตมาปรับใชโดยผสมผสานเทคนิคเฉพาะตัว ตามลักษณะของงานปอปอารต สีสัน
จัดจาน ดึงดูดใหเกิดความนาสนใจ โดยใชเทคนิคซิลคสกรีน (Silkscreen) และเทคนิคทางจิตรกรรม
เพื่อเพิ่มรสชาติของงาน ซึ่งเทคนิคดังกลาวเปนวิธีการสรางงานพิมพในระดับอุตสาหกรรม มักจะใชใน
ิ
แวดวงโฆษณาขายสินคาเชน ทำโปสเตอร บิลบอรด และพมพลวดลายลงบนเสื้อยืด วอรฮอลใชเทคนิค
อุตสาหกรรมนี้พิมพภาพดารา นักรอง เชน มาริลีน มอนโร อลิซาเบ็ธ เทเลอร และ เอลวิส เพรสลีย
โดยการพิมพดวยสีฉูดฉาดเตะตา ภาพซ้ำๆ ในแบบสินคาอุตสาหกรรมที่ผลิตซ้ำไดทีละมากๆ แตคง
ความเปนศิลปะไวไดอยางนาทึ่ง ดวยแนวความคิดเกี่ยวกับสังคมบริโภค การผลิตซ้ำ การเขาถึงผูคนได
่
ทุกระดับชัน จนกลายเปนทนิยม เรียกวา ประชานิยม (Pop culture) วอรฮอลเห็นวาทุกสิ่งทุกอยาง
ี
้
จะสามารถเปนที่นิยมได (Everything is Beautiful. Pop is everything) ดังมีคำกลาวของวอรฮอล
ที่วา “Everyone will be famous for 15 minutes.” คงจะไมกลาวเกินเลยสำหรับคำพยากรณของ
ื่
วอรฮอลที่กลาวไวเมอหลายสิบปกอนที่มองเห็นถึงการเชื่องโยงของวัฒนธรรม และการเขาถึงสื่อท ี่
สามารถตอเชื่อมกับผูคนในสังคมไดอยางรวดเร็ว
ี่
ั
หากจะนิยามความหมายของศิลปะในยุครวมสมย วาเปนศิลปะทมีการแสดงออกอยางไม
จำกัดดวยรูปแบบ หลากหลายเทคนิค เนื้อหาในการแสดงออกที่สะทอนวิธีคิดของคนยุครวมสมัย อีก
ทั้งมีการยืดขยายพื้นที่และขอบเขตของความเปนศิลปะ ตางไปจากนิยามและความหมายในงานแบบ
วิจิตรศิลป (Fine art) นักปรัชญาจิตนิยมชาวเยอรมันอยาง จอรด เฮเกล (Georg Hegel) ไดวิเคราะห
เรื่องความงามในศิลปะไววา ความมีอิสระและความไมสิ้นสุด มีความสัมพันธกับแนวคิดเรื่องความงาม
ทั้งทางวัตถุ และในการพิจารณา ปริมณฑลของความงามไดแยกตัวออกจากความสัมพันธของขอบเขต
และยกระดับไปสูความสัมบูรณของความคิด และความเปนจริง ซึ่งเปนการวิเคราะหความงามแบบ
จิตภาพนี้ อยูเหนือสติปญญาทางสุนทรียะและไมจำกัดอยูแคเพียงวัตถุทางความงาม แตขึ้นอยูกับ
ึ
จิตวิญญาณของผูที่รูสึกไดถงความงามในศิลปะอยางเปนอิสระ เฮเกลไดคาดการณถึงศิลปะที่จะ
เกิดขึ้นในอนาคตวา จะถึงจุดจบของศิลปะ (End of the Art) วา ลักษณะความเปนธรรมชาติของการ
สรางงานศิลปะและผลงานศิลปะ ไมสามารถเติมเต็มความตองการสูงสุดของมนุษย ที่ไดกาวขามการ
เทิดทูนงานศิลปะในฐานะผูรับใชทางศาสนาและการสักการะ การประทับใจในงานศิลปะทำใหเกิดการ
สะทอนกลับ และกระตุนความตองการของมนุษยใหสูงขึ้น และการทดสอบที่แตกตาง ความคิดและ
การสะทอนกลับจะทาทายใหเกิดการกระทำสิ่งใหมๆ ที่เหนือกวาวิจิตรศิลป (Hegel, 1988. p. 10)
ั
เฮเกลยังใหความสำคญของการสืบคนความหมาย และตรวจสอบผลงานศิลปะที่จะเกิดขึ้น
ี
อยางไมมขอบเขตจำกดวา ปรัชญาศิลปะมความจำเปนมากขึ้น ซึ่งนอกจากความพอใจแลว ศิลปะยัง
ี
ั
เชิญชวนใหเราพิจารณาทางปญญา และไมใชเพียงแควัตถประสงคเพื่อการสรางสรรคงานศิลปะ แต
ุ
เปนความรูทางปรัชญาที่วา อะไรเปนศิลปะ (Hegel, 1988. p. 11) ซึ่งแนวคิดเรื่องความงามของ