Page 32 -
P. 32
ิ
์
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
6
การนำโถปสสาวะมาเปนสื่อในงานศิลปะของ
มาเชล ดูชอมพ (Marcel Duchamp) เปนการตั้ง
่
คำถามกับความงามสุนทรียภาพแบบเกา ทีไมสามารถ
ใหความหมายไดอกตอไป ดูซอมพไดใหนิยามกับ
ี
ผลงานนี้วา ถามันมีลายเซ็นและคุณไมสามารถปสสาวะ
ใสมันได เพราะมันแขวนอยูกับผนังที่พพิธภัณฑ มันก ็
ิ
นาจะเปนศิลปะ ถือเปนจุดเปลี่ยนที่สำคัญตอมุมมอง
เรื่องศิลปะในยุคตอๆ มา รูปแบบทางศิลปะเริ่มเกิดการ
ผสมผสานและมีความสัมพันธ สอดคลองกับวิถีชีวิต
ผูคนมากขึ้น ทั้งทางสังคม วัฒนธรรมและการเมือง
ภาพที่ 1.4 ผลงานโถปสสาวะของ มารเซล ดูชอมพ
หมายเหตุ. จาก artsy.net/article/artsy- editorial-
Duchamps -urinal-changed-art-forever
การตั้งกติกาของการจัดนิทรรศการศิลปะโดยการใหสงผลงานเขารวมแสดง แตกลับถก
ู
ตัดสินดวยรสนิยมของกรรมการที่อางเรื่องจารีตประเพณี และศีลธรรม ความไมเหมาะสมสำหรับการ
ิ
เขารวมแสดงในนิทรรศการศลปะ แตในความหมายของรสนิยมสวนตัวที่มาจากบรรทัดฐานทางสังคม
ซึ่งดูซอมพตองการวิจารณรสนิยมและการตัดสินสวนตัวของกรรมการ อันสงผลตอการกระทบ
ื
กระเทอนเกณฑตัดสินทางสังคม กติกาเกาไมยอมปรับตัวทำใหเกิดปรากฎการณแบบดูชอมพ ซึ่งใน
การนำเสนอแนวคิดทางสุนทรียศาสตรโดยผานกติกา แตกลับถูกปฏิเสธดวยเกณฑตัดสินทางสังคม
็
มาตรฐานทางความงามที่สังคมไดขดกรอบเอาไว โถปสสาวะอาจจะดูสวยงามหรือไมกตาม เรายัง
ี
ถกเถียงกันได อยางนอยเราไดเห็นความสัมพันธทางความคิดของมิสเตอรมุท ทแสดงออกผานวัสดุ
ี่
สำเร็จรูปนี้ ซึ่งการหยิบยืมวัสดุสำเร็จรูปของดูชอมพ ไมถือวาเปนการแสดงออกทางสุนทรียศาสตร
และไดแสดงใหเห็นวา หากเปนศิลปะแตไมมความงาม ซึ่งความงามทแทจริงนั้น ไมไดนิยาม
ี
ี่
คุณลักษณะของศิลปะ ในการแยกแยะแบบนี้ เปนการแยกความแตกตางระหวางสุนทรียศาสตร กับ
ปรัชญาศิลปะไดอยางชัดเจน ซึ่งเปนวิถีทางของศิลปะในปจจุบัน (Danto, 1997, p. 84) ซึ่งจาก
เหตุการณดังกลาว ทำใหเกดการถกเถียงเรื่องการชี้ขาดในเรื่องเกณฑตัดสินทางความงาม วาเปน
ิ
่
หนาที่ของใคร แลวใชเกณฑแบบไหนสำหรับการตัดสิน ทำใหเกิดแนวคดแบบทีมองวาสุนทรียศาสตร
ิ
แบบจารีตไมสามารถใหความหมาย และอธิบายมิติทซับซอนขึ้นของสังคมรวมสมัยอีกตอไป มีการ
ี่
แสดงออกทางความคิดอยางอสระ แตใหความสำคญกับคณคาในเรื่องของความงามที่เปนปจเจก ซึ่ง
ิ
ุ
ั
ถือเปนจุดเริ่มตนของศิลปะรวมสมัยในปจจุบัน