Page 29 -
P. 29

์
                                                   ิ
                                                              ิ
                                            ิ
                                                                                       ุ
                                ื
                                   ิ
                                                                               ั
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                                                                         3


                       ศิลปะรวมสมัยกับยุคสมัยแหงการเปลี่ยนแปลง
                                             ิ
                              ศิลปะสมัยใหมที่เกดขึ้นในยุคคริสตศตวรรษที่  19  มการเปลียนแปลงในหลายชวงเวลาอยาง
                                                                         ี
                                                                                ่
                                              ี่
                       ในป ค.ศ. 1863 เหตุการณทซาลง เดส เรอฟูเซส  (Salon des Refuses) นิทรรศการผลงานศิลปะที ่
                                                                     ื
                       ถูกปฏิเสธจากซาลอง (Salon) สถานที่จัดแสดงภาพในเมองปารีส ประเทศฝรั่งเศส มผลงานของศิลปน
                                                                                           ี
                       อยาง กุสตาฟว กูรแบ (Gustave Courbet), เอดูอารด มาเนต (Edouard Manet), กามีย ปซาโร
                       (Camille Pissaro), อองตวน ชินเทรย (Antoine Chintreuil) เปนตน ซึ่งเหตุการณนั้นผลงานที่ไดรับ

                       การกลาวขานมากเปนภาพผลงานชื่อวา The Luncheon on the Grass ของมาเนต (Manet) ไดถูก
                                                                                                       
                       ปลดออกจากนิทรรศการ  หลังจากไดรับคำวิจารณอยางรุนแรงวาไมเหมาะสม  ซึ่งชารลส  โบดิเยร

                       (Charles Baudelaire) ไดอธิบายถึงเหตุการณนี้ไวในหนังสือ จิตรกรแหงชีวิตสมัยใหม (The Painter

                       of Modern Life) วา ในรูปแบบของความสมัยใหม ศิลปนในอดีตมความทันสมัยในตัวเอง โดยสวน
                                                                               ี
                       ใหญการวาดภาพบุคคลที่สวยงาม  สืบทอดมาถึงรุนของเรา  คนรุนกอนควรสวมเสื้อผาในชุดแตงกาย
                                                                               
                       ของคนในยุคนั้น  เปนความกลมกลืนสมบูรณแบบเนื่องจากเสื้อผา  ทรงผม  แมกระทั่งทาทาง  การ
                                       ้
                       แสดงออกและการยิม  (Baudelaire,  1995,  p.  13)  หรืออาจกลาวไดวา  เราไมสามารถวาดภาพ
                       รวมสมัย  โดยใชเสื้อผาหรือเครื่องแตงกายของคนในยุคกอนมาเปนแบบ  เราควรวาดเสื้อผาและเครื่อง
                       แตงกายของคนในยุคนั้นๆ  เพื่อสื่อถึงความสมัยใหมอยางที่เปน  หรือหากจะวาดภาพแบบประเพณีก ็
                                                                 
                                                          
                       ควรยึดตามหลักประเพณีของยุคสมัยนั้น ไมควรเขียนดวยวิธีการแบบรวมสมัย



















                         ภาพที่ 1.1 The Luncheon on the Grass     ภาพที่ 1.2 Pastoral Concert

                         หมายเหตุ. จาก www.manet.org/luncheon-    หมายเหตุ. จาก www.italianrenaissance.org/
                         on-the-grass.jsp                         titian-pastoral-concert/

                              ผลงาน The Luncheon on the Grass ของมาเนตไดแรงบันดาลใจมาจากผลงานคลาสสิค

                       ของ Titain ที่มีชื่อวา Pastoral Concert ที่เปนภาพนักดนตรีลอมวงกันในบรรยากาศชนบท และม ี
                       ผูหญิงเปลือยที่เปนตัวแทนจากเทพนิยายกรีกโบราณ  ดวยการลอเลียนงานจิตรกรรมแบบโบราณและ
                                                                    
                                                                                 ี่
                       ปฏิกิริยาของผูชมไปพรอมๆ  กัน  มาเนตยังนำทาทางการนั่งของผูคนทอยูในภาพผลงานที่ชื่อวา  The
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34