Page 31 -
P. 31

ิ
                                                   ิ
                                                                                       ุ
                                                                               ั
                                   ิ
                                ื
                                               ์
                                            ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                                                                         5


                                                                                   ี
                                                            ื
                       ประทับใจแลวนำมาถายทอดลงบนผืนผาใบก็ถอวาเปนศิลปะแลว    อกทั้งความรูสึกของศิลปนได
                                                                                                    ั
                                                                                          ึ
                       แสดงออกในแบบปจเจกผานงานศิลปะของพวกเขา  ผลงานของโมเนตแสดงออกถงความประทบใจใน
                                              ึ้
                                                       ่
                       ชวงเวลาที่พระอาทิตยกำลังขน มีแสงทีตกกระทบบนผิวน้ำ โดยใชฝแปรงแบบฉับพลันและใชสีที่สดใส
                                                                                                   ี
                                                                                               ่
                       มีการทิ้งรอยของพูกันอยางสนุกสนาน  ประกอบกบความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรทีไดมการผลิต
                                                                ั
                       หลอดสีน้ำมัน  และความรูทางวิทยาศาสตรแบบสเปกตรัม  ทำใหสงผลตอรูปแบบของศิลปะในยุค
                                                                                            ิ
                                                                          ่
                       อิมเพรสชั่นนิสตที่ศิลปนแสดงออกถึงสภาพแวดลอมที่มีการเปลียนแปลงในธรรมชาต  และวิถีชีวิตของ
                                     ื
                       ผูคนในยุคนั้น  ถอวาเปนการเปลี่ยนมุมมองของศิลปนในการมองธรรมชาติ  และการแสดงออกผาน
                       อารมณความรูสึกที่แทจริงของศิลปน
                             
                                                                                                    ่
                              เขาสูยุคคริสตศตวรรษที่  20  กลุมศิลปนที่เคลื่อนไหวในแนวคิดทางศิลปะในยุโรปทีตอตาน
                       สงคราม  ปฏิเสธเหตุผลและขนบธรรมเนียมประเพณที่อางวาเปนสาเหตุทำใหเกดสงคราม  ซึ่งคำวา
                                                                                         ิ
                                                                     
                                                                   ี
                       Dada เปนคำที่ใชเรียกศิลปนกลุมดาดา (Dadaist) ปฏิเสธเหตุผลที่สงผลตอขอจำกัดในการสรางสรรค
                       และวิธีการสรางงานศิลปะในแบบเกา  (anti-Art)  โดยมุงเนนในการนำเสนอความคดที่ไมยึดติดกบ
                                                                                                        ั
                                                                                             ิ
                       ความงามในแบบจารีตและขนบประเพณ ศิลปนกลุมดาดามกใชวิธีการถากถางเยาะเยยกบคุณคาแบบ
                                                        ี
                                                                        ั
                                                                                               ั
                                                                                                     ี
                                              ั
                       เกา  ซึ่งเปนการตั้งคำถามกบเรื่องสุนทรียศาสตรและคณคาทางความงามในแบบจารีตประเพณ  ไม 
                                                                    ุ
                       ยอมรับกฎเกณฑทางสังคมในการตัดสินเรื่องคุณคาของชีวิต  สุนทรียศาสตร  และศิลปะ  มีการใชวัสดุ
                                                                     
                       สิ่งของที่ไมเคยคิดวาจะนำมาเปนผลงานทางศิลปะไดมากอน  และใหความสำคญกับความหลากหลาย
                                                                                       ั
                       ในการแสดงออกทางศลปะ
                                         ิ
                              การปฏิเสธผลงานในนิทรรศการศิลปะเกดขึ้นอีกครั้ง  ผลงานโถปสสาวะของมารเชล  ดูชอมพ  
                                                               ิ
                       (Marcel  Duchamp,  ค.ศ.  1887  -  1968)  ศิลปนกลุมดาดาที่นำเสนอผลงานศิลปะโดยตั้งชื่อวา
                                                                            ่
                       Fountain  แปลวาน้ำพุ  เหตุการณนี้ขึ้นในป  ค.ศ.  1917  ทีสมาคมศิลปนอิสระ  (Society of
                                             
                                                                                                        
                       Independent Artists) ไดเปดโอกาสใหผูคนสงงานศิลปะรวมแสดงโดยเสียคาสมัคร 6 ดอลลาร แตม ี
                                               ็
                       คนสงโถปสสาวะและมีลายเซนวา  “R.Mutt  1917”  คณะกรรมการกลับไมใหผลงานนี้เขารวมใน
                                  ึ่
                       นิทรรศการ ซงดูชอมพเปนหนึ่งในคณะกรรมการนั้น ตอมาเขาไดลาออกจากสมาคมและไดเปดเผยถึง
                       ที่มาของงานชิ้นนี้วา เขาซื้อโถปสสาวะมาจัดวางแบบงายๆ แลวเซ็นชื่อไวที่ขอบดานลางวา R. Mutt ซึ่ง
                       R มาจากคำวา Richard ในภาษาฝรั่งเศสแสลงแปลวา ถุงเงิน สวน  Mutt ไดแรงบันดาลใจมาจากตัว

                       ละครในการตูน Mutt and Jeff การใชชื่อสมมติเปนการลอกับชื่อหรือตัวตนของความเปนศิลปน ซึ่ง

                                                                                  
                       ตอมาเรื่องราวทั้งหมดไดถูกตีพิมพในหนังสือ The Blind Man ซึ่งดูชอมพไดเขียนเชิงประชดประชันวา
                                             ุ
                       “ผลงานน้ำพุของมิสเตอรมทไมไดผิดศีลธรรม  เปนเรื่องไรสาระ  อางอาบน้ำที่ไหนจะผิดศีลธรรม”
                       การตั้งคำถามกับความเปนศิลปะและเกณฑการตัดสินคุณคาทางความงาม    ทีทาทายตอสุนทรีภาพ
                                                                                        ่
                                                                       
                       แบบเกา และนิยามการเรียกสิ่งไหนวาศิลปะ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36