Page 30 -
P. 30

ิ
                                                   ิ
                                                                                       ุ
                                                                               ั
                                               ์
                                            ิ
                                ื
                                   ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
               4


               Judgment of Paris ของศิลปนชาวอิตาเลียนรุนเกาอยาง Marcantonio Raimondi และ Raphael
               มาใชในผลงานของตัวเอง  แตมาเนตไดเปลี่ยนทิศทางของการมองของผูหญิงเปลือยใหมองมาที่ผูชม

               โดยเสื้อผาและทาทางของผูคนที่นั่งอยูในสวนใหมีลักษณะแบบสมัยใหม  อีกทงการลักษณะการวาด
                                                                                 ั้
               ของมาเนตยังไมมความสมบูรณในการเขียนผิวของมนุษย  รวมถึงสัดสวนของผูหญิงที่อยูในดานหลัง
                              ี
                        ่
               ของภาพทไมเปนไปตามทัศนยภาพ (Perspective) และแบบแผนในงานจิตรกรรมแบบดั้งเดิม
                        ี
                       ผูบุกเบิกอยางมาเนตและศิลปนในยุคตอมามองวา งานจิตรกรรมไมใชหนาตางทมองออกไปสู
                                                                                        ี่
                                                                                              ื
               โลกภายนอกอยางที่เคยเปนมา  หากแตคอการสรางภาพของโลกขึ้นมาใหม  โดยใชเครื่องมอและ
                                                   ื
                          ี
                                                                                       ี
                                                               
               กฎเกณฑที่มมาแตเดิมในการสรางความหมายรูปแบบใหม  และจะทำใหงานจิตรกรรมมคุณคาพอที่จะ
               ถูกกลาวถงในโลกสมัยใหม ซึ่งนำไปสูการถอกำเนิดของ “โมเดิรนนิสต” หรือศิลปะสมัยใหมนั่นเอง  ซึ่ง
                                                  ื
                        ึ
                                     ี่
               ถือเปนจุดเปลี่ยนที่สำคัญทศิลปนสามารถสรางสรรคและแสดงออกทางศิลปะ  ดวยความรูสึกนึกคิด
                       ี
               และทาทของตัวเองที่มีตอเรื่องราวหรือเนื้อหานั้นๆ  ความมฐานะและตัวตน  (subject)  ของศิลปนได
                                                                ี
                          
               เกิดขึ้น ซึ่งกอนหนานี้ศิลปนทำหนาที่เพียงถายทอดสิ่งที่เปนขนบธรรมเนียม และวัฒนธรรมทางสังคม
                    ู
                                                               ิ
               ที่ไดถกกำหนดไวแลว ดวยมาตรฐานและกฎเกณฑตางๆ ศลปนไมสามารถแสดงความรูสึกมากไปกวาท ี่
               บรรทัดฐานทางสังคมไดขีดกรอบเอาไว    ซึ่งแนวคิดนี้ตอมาสงผลใหเกิดศิลปนกลุมอมเพรสชั่นนิสม
                                                                                      ิ
               (Impressionism) เปนจำนวนมาก






















                                             ภาพที่ 1.3 Impression Sunrise

                            หมายเหตุ. จาก https://www.claude-monet.com/impression-sunrise.jsp

                       การวิพากษวิจารณและการปฏิเสธผลงานในนิทรรศการกลุมอิมเพรสชั่นนิสมในชวงแรกๆ  ม ี
               มาเปนระยะ  โดยเฉพาะผลงานที่ชื่อวา  Impression Sunrise  ในป  ค.ศ.  1872  ของโคลด  โมเนท  

                                                                       
               (Claude Monet)  ศิลปนชาวฝรั่งเศส  ซึ่งคำวาอิมเพรสชั่นนิสตไดมาจากการประชดประชันจากนัก
                                        ิ
               วิจารณที่อธิบายรูปแบบของศลปะกลุมนี้วาเปนแคความประทับใจ   เปนงานจิตรกรรมที่เขียนแบบ
                                                                                 ั
               งายๆ  และยังไมเสร็จ  แตศิลปนกลับชอบชื่อนี้และยืนยันวาการแสดงออกแบบฉบพลันกบความรูสึกท ี่
                                                                                        ั
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35