Page 38 -
P. 38

ิ
                                                   ิ
                                                                                       ุ
                                                                               ั
                                   ิ
                                ื
                                               ์
                                            ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
               12


               เฮเกลเปนการเปดพื้นที่ของการใหความหมายในงานศิลปะ  ที่เขาใจธรรมชาติของศิลปะวามีลักษณะ
               อยางไร  และสรางความสัมพนธกับมนุษยอยางไร  ซงนอกจากนี้ยังอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของงาน
                                       ั
                                                          ึ่
               ศิลปะวา จะกาวขามความหมายแบบเดิม ทไปขยายขอบเขตทางความคิด และมิติของความรูสึกที่จะ
                                                    ่
                                                    ี
               ซับซอนมากกวาที่ศิลปะเคยเปนมา อันเนื่องมาจากการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางความรู และการ
               ใหความหมายทางความงามผานศิลปะ

                       แนวคิดเรื่องความงามที่สืบทอดมาจากยุคปรัชญากรีก   มาถึงยุคสมัยกลางที่ใชศิลปะเปน
                                                                        ี
               เครื่องมือเผยแผคำสอนทางศาสนา  จนถึงยุคสมัยใหม  ที่มนุษยเริ่มมการแสดงออกทางความรูสึกผาน
               งานศิลปะในฐานะปจเจก  และมีการสรางลักษณะพิเศษทตัดขาดจากบริบททางประวัติศาสตร  จน
                                                                ี่
               มาถงจุดเปลี่ยนทศิลปนทาทายกับกฎเกณฑทางศิลปะอยาง  ดูชอมพ  (Duchamp)  ที่ปฏิเสธและ
                   ึ
                             ี่
                                                               ิ
                                                                                
               ตอตานความงามในศิลปะแบบเกา  โดยนำวัสดุที่ไมคาดคดวาจะเปนศิลปะมากอน  มาสรางเปนงาน
               ศิลปะ ดวยวิธีการเยาะเยย ถางถาก มีการตั้งคำถามกับงานศิลปะ และเกณฑการตัดสินทางความงาม
                                                                               
               ทำใหเกิดพื้นทของการตอรอง  และเปนการชวงชิงความหมายเชิงความงามในงานศิลปะ  สงผลใหการ
                           ี่
               พิจารณาความงามทางศิลปะในทางสุนทรียศาสตรเปลี่ยนแปลงไปดวย ไมวาจะเปนการประเมินคุณคา

               ในงานศิลปะ การตัดสินทางสุนทรียศาสตร ความซาบซึ้งและความเพลิดเพลินใจที่ไดรับรูงานศิลปะใน
                            ี่
               รูปแบบตางๆ ทแตกตางกันไป รวมถึงการปฏิเสธคุณคาและกฎเกณฑที่ไปกำหนดขอบเขตในความรูสึก
               ของมนุษย  ซงสงผลตอการแสดงความรูสึกที่แทจริงตองานศิลปะ  ดวยบรรทัดฐานทางสังคมและ
                             ึ่
               วัฒนธรรมในเรื่องของรสนิยมที่เปนอัตวิสัย ความเปนไปของโลกศิลปะที่วาดวยเรื่องการใหความหมาย
               และคุณคา ความงามที่เปนปจเจกและหลากหลายในการแสดงความรูสึกของมนุษยที่แทจริงออกมาใน
                                                                                       
               งานศิลปะ
                       การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาของศิลปะรวมสมัย  สืบเนื่องมาจากการใหคณคาทางความงาม
                                                                                   ุ
                                                                                   ั
               ของดชอมพ (Duchamp) ทีปฏิเสธการผูกขาดเรื่องการใหความหมายและคุณคากบสถาบันใดสถาบัน
                    ู
                                       ่
               หนึ่งหรือแมกระทั่งตัวบุคคล ความงามแบบเกาที่ผูกติดกับสุนทรียศาสตรแบบจารีต เกณฑตัดสินทคับ
                                                                                                ี่
                         
               แคบและไมเปดพื้นที่ใหกับความงามในแบบอื่น  แตดูชอมพกลับใหความสำคัญกับความเปนปจเจกใน
               การแสดงออกทางความงาม ในป ค.ศ. 1913 ดูชอมพไดทดลองใชวัสดุสำเร็จรูป (Ready made) ดวย
               การนำเอาวงลอจักรยานมาสรางเปนงานศิลปะ  โดยเอามาปกไวบนเกาอี้และตั้งชื่อวา  The Bicycle

               Wheel ซึ่งถือวาเปนผลงานศลปะที่ใชวัสดุสำเร็จรูปในการสรางเปนงานศิลปะชิ้นแรก (หากไมนับงาน
                                        ิ
               แบบปะตดหรือคอลลาจของปกัสโซ)  ทำใหเกดการตั้งคำถามที่วา  งานชิ้นนี้เปนศิลปะหรือไม  ซง
                                                      ิ
                                                                                                 ึ่
                       ิ
               ดูชอมพตอบวา สิ่งนี้เปนศิลปะ เพราะศิลปนบอกวาสิ่งนี้เปนศิลปะ “This is art because the artist
               says it’s art” ในความหมายที่ความรูสึกของศิลปนที่เปนอัตวิสัย (subjective) เปนความรูสึกเฉพาะ

                                                            
                      ี่
               บุคคลทไมสัมพันธกับความหมายสากล  หรือกฎเกณฑการตัดสินทางความงาม  ซึ่งถอเปนการชวงชิง
                                                                                     ื
                                                               ั
               ความหมายทางศิลปะหรือความงาม ใหเกิดความสัมพันธกบการแสดงออกที่เปนพื้นฐานของการตัดสิน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43