Page 61 -
P. 61

์
                                                ิ
                                                                                 ิ
                                                                      ิ
                                    ื
                                       ิ
               โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                        4.    Market specialization จะกลับกันกับ product specialization โดย market specialization
               จะยึดที่ตลาดเดียวที่น่าสนใจสุด แต่ท าการศึกษาความต้องการของตลาดนั้นในหลายๆมุม จนกระทั่งออกสินค้า
               หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในตลาดนั้น
                        5.    Full market coverage ซึ่งมี 2 แบบ


                              5.1   สินค้าชนิดเดียวขายในทกๆ ตลาด ทุกๆ segment แต่เนื่องมาจากในปัจจุบัน ผู้บริโภคม ี
                                                         ุ
               ความต้องการที่หลากหลายมากขึ้น การที่จะท าสินค้าที่ตอบสนองความต้องการของทุกตลาดนั้นหมายถึง ทุกเพศ

               ทุกวัย เป็นเรื่องยาก แต่จะเห็นตัวอย่างได้จากสินค้าที่ประสบความส าเร็จมาอย่างยาวนาน เช่น Coke Pepsi เป็น
               ตัวอย่างหนึ่งของ full market coverage


                              5.2   บริษัทท าสินค้าให้เฉพาะแต่ละ segment แต่ท าให้ในทุกๆ segment เช่นนี้ก็นับว่าเป็น
               full market coverage อีกแบบหนึ่ง

                       หลังจากท าการแบ่งกลุ่มลูกค้าและเลือกกลุ่มที่จะมาเป็นกลุ่มเป้าหมายแล้ว ผู้เขียนเสนอแนะว่านักการ

               ตลาดจะต้องท าวิจัยเพอให้ได้ข้อมูลของกลุ่มเป้าหมายให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พฤติกรรมการใช้สินค้าที่
                                  ื่
               อยู่ในประเภทเดียวกับสินค้าของเราเพื่อก าหนดกลยุทธ์ทางการตลาดต่อไป




               กำรวำงต ำแหน่ง (Positioning)


                       หลังจากท าการเลือกกลุ่มเป้าหมายแล้ว ผู้ประกอบการจะต้องก าหนดต าแหน่งที่แบรนด์อยู่ในตลาดและสิ่ง
               ที่ลูกค้าคาดหวังจากแบรนด์เมื่อพวกเขาซื้อบริการและผลิตภัณฑ์ไป หากแบรนด์อยู่ในต าแหน่งที่ถูกต้องก็จะท าให้
               ลูกค้าจดจ าแบรนด์ได้และแยกแยะความแตกต่างระหว่างคแข่งและแบรนด์ได้ ซึ่งก็จะท าให้แบรนด์สามารถแข่งขัน
                                                               ู่
               ในตลาดได้ วัตถุประสงค์ของการวางต าแหน่งแบรนด์คือการสร้างการรับรู้ถึงแบรนด์และสร้างปัจจัยที่มีผลต่อวิธีที่
               ลูกค้ารับรู้ถึงแบรนด์ของผู้ประกอบการ การวางต าแหน่งทางการตลาดยังช่วยให้ผู้ประกอบการวิเคราะห์และ

               เปรียบเทียบมูลค่าแบรนด์ของตนเองกับคู่แข่งได้  ซึ่งในการก าหนดต าแหน่งควรสร้างมุมมองการวางต าแหน่งจาก
               การพิจารณาดังต่อไปนี้


                       1. แหล่งที่มาและประโยชน์ของผลิตภัณฑ์โดยการเชื่อมโยงแบรนด์กับคุณลักษณะหรือคุณค่าบางอย่าง

                       2. ราคาผลิตภัณฑ์อยู่ในระดับใดเมื่อเทียบกับคู่แข่ง

                                        ์
                       3. คุณภาพผลิตภัณฑควรเปรียบเทียบกับคู่แข่ง

                       4. การประยุกต์ใช้ผลิตภัณฑ์ หากผลิตภัณฑ์สามารถใช้งานในหลายด้าน โดยเปรียบเทียบกับคู่แข่ง

                       5. คุณลักษณะอื่น ๆ ที่ลูกค้าให้ความส าคัญในอุตสาหกรรมนั้น เช่น ระดับของสินค้า วิธีใช้สินค้า ลักษณะ
               ทางกายภาพบางอย่างของสินค้า หรือ ลักษณะทางวัฒนธรรมของสินค้า




                                                             59
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66