Page 14 -
P. 14

ิ
                                             ิ
                                                ์
                                                                              ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                 ื
                                                                   ิ
                                                                                                              9
                                                                                                            9

               Intro Universal of Wolffia / SDG
                       ไข่ผ ากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
                       ในประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อม พบว่า ขั นตอนในการเพาะเลี ยงไข่ผ า ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมน้อย
                                              ี
               เนื่องจากไข่ผ าเป็นพืชอายุสั นและไม่มเนื อเยื่อท่อล าเลียง ส่วนใหญ่เป็นเนื อเยื่อพาเรนไคมาที่ประกอบด้วยเซลล์ที่มี
               ชีวิต ในล าต้นมีสีเขียวจะมีคลอโรพลาสท าหน้าที่สังเคราะห์แสง มีช่องอากาศแทรกระหว่างเซลล์ด้วยจึงท าให้เห็น
                                                                        ิ
                                                                                       ่
               คล้ายฟองน  า มีคุณสมบัติในการบ าบัดน  าเสียได้ ท าให้มีปริมาณออกซเจนที่ละลายน  ามีคาสูงขึ น ความเป็นกรดเป็น
               ด่างค่อนข้างเป็นกลาง และค่าความขุ่นของน  าเสียต่ าลง และช่วยดูดซับสารอาหารจากน  าเสีย เช่น ใช้ฟื้นฟูแหล่งน  า
               ที่มีการปนเปื้อนจากแคดเมียม โดยไข่ผ าสามารถสะสมแคดเมียมได้ 80.65 มิลลิกรัม/กรัม และใช้บ าบัดน  าทิ งจาก

               บ่อเลี ยงกุ้งกุลาด าในพื นที่น  าจืดได้ (สุรีย์พร ธรรมิกพงษ์, 2553)
                           ั
                                                                    ั
                       การพฒนาการผลิตไข่ผ า ไปสู่ความยั่งยืน ส านักงานพฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ
               สวก. เดินหน้าพฒนางานวิจัย ขานรับนโยบายรัฐบาล สร้างนวัตกรรมอาหารอนาคต ปฏิรูปภาคการเกษตรด้วยพืช
                             ั
               เศรษฐกิจชนิดใหม่ สร้ายรายได้แบบยั่งยืน   อัดฉีดเงินวิจัย  ด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก ไข่ผ า หรือ คาเวียร์มรกต
                                                                                           ุ
               ตอบโจทย์กระแสคนรักสุขภาพทั่วโลก อาหารแห่งอนาคต (Future Food) เป็นแนวคิดในอตสาหกรรมอาหารโลก
               ที่มีความหลากหลาย ทั งรูปลักษณ์และกระบวนการผลิต โดยมุ่งเน้นกระบวนการผลิตอาหารที่เหมาะสมกับโลกใน
               ระยะข้างหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านสิ่งแวดล้อม ทั งการลดภาวะโลกร้อน และการสร้างระบบอาหารอย่าง
               ยั่งยืน แนวคิดด้านสุขภาพและการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันกลายเป็นประเด็นที่อตสาหกรรมอาหารให้ความส าคัญเพิ่ม
                                                                              ุ
               มากขึ น อนเป็นผลจากการระบาดของโรคโควิด-19 ที่สร้างความตื่นตัวต่อการรักษาสุขภาพและสุขอนามัยทั่วโลก
                        ั
               การปรับเปลี่ยนของวิถีชีวิต ความต้องการ และการเปลี่ยนแปลงตามวัยของผู้บริโภค ล้วนส่งผลต่อการด าเนินธุรกิจ
               ในห่วงโซ่อปทานอาหารและอาหารแห่งอนาคต โดยผู้บริโภคให้ความสนใจผลิตภัณฑ์ที่เสริมสารอาหารและ
                         ุ
               โภชนาการ อาหารประเภท functional ผลิตภัณฑ์ที่ดีต่อระบบย่อยและดูดซึมอาหาร สะท้อนจากมูลค่าตลาดของ
               อาหารกลุ่มดังกล่าวที่มีการเติบโตสูงอย่างต่อเนื่อง (Fugita, Mori and Kodera, 1998; เบญจภรณ์ บุณยพกกะ,
                                                                                                         ุ
               2542; เสาวนิตย์  พุฒิเลอพงศ์, 2549)
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19