Page 55 -
P. 55

36                                                                                                 37

                                                                          ิ
                                             ิ
                                  ื
                                    ิ
                     โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                ิ
                                               ์
 ื
 ้
 ่
 สำคญหลายแห่ง ดงแสดงในภาพที่ 2.3 กจกรรมดำน้ำแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไดแก การดำน้ำตน   1) การดำน้ำตื้น (snorkeling หรือ skin dive) เป็นการดำน้ำที่ระดับผิวน้ำ ผู้ดำเนินกิจกรรม
 ั
 ั
 ้
 ิ
 และการดำน้ำลึก     ไม่จำเป็นต้องว่ายน้ำเป็น เพยงแต่สามารถทรงตัวอยู่บริเวณผิวน้ำโดยอาศัยเสื้อชูชีพในการพยุงตัว
                                           ี
                    แล้วใช้หน้ากากดำน้ำ (snorkel) เพอชื่นชมทัศนียภาพใต้น้ำ การดำน้ำในลักษณะนี้มักดำเนินกิจกรรม
                                                 ื่
                                                                                      ื่
                    ในบริเวณที่คลื่นลมสงบ กระแสน้ำไม่รุนแรง และมีทุนบอกเขตในการดำน้ำ เพอป้องกันมิให้มีการ
                    เดินเรือในบริเวณดังกล่าว
                           2) การดำน้ำลึก (SCUBA diving) เป็นการดำน้ำที่ทุกส่วนของร่างกายอยู่ใต้น้ำ และมีการ
                                                                 ่
                    หายใจโดยใช้เครองช่วยหายใจ คำว่า SCUBA ยอมาจาก “Self-Contained Underwater
                                    ื
                                    ่
                                                                                              ์
                                                                       ุ
                    Breathing Apparatus” หมายถึง การหายใจใต้น้ำโดยใช้อปกรณ์เสริม ซึ่งก็คือแทงกอัดอากาศ
                                                                           ึ
                    (compresses air) การดำนำลกสามารถดำนำได้ต้งแต่ระดับความลก 5-35 เมตร ทั้งนี้การดำน้ำต้อง
                                           ้
                                             ึ
                                                         ้
                                                             ั
                    อยู่ภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ (instructor) และต้องมีการฝึกอบรมก่อนการดำเนินกิจกรรม
                    เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่มีความอนตราย หากไม่ดำเนินกิจกรรมอย่างถูกต้องอาจถึงแก่ชีวิต ดังนั้น
                                               ั
                    กิจกรรมการดำน้ำลึกมักใช้กับนักท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่ม พนที่ที่นิยมดำเนินกิจกรรมคือแนวปะการังน้ำ
                                                                  ื้
                                                        ี
                    ลึกและกองหินใต้น้ำ เช่น บริเวณหมู่เกาะพีพ จังหวัดกระบี่ และหมู่เกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็น
                    ต้น

                           2.2 กิจกรรมกีฬาทางทะเลและล่องเรือนำเที่ยว
                           ท้องทะเลของประเทศไทยมีความสวยงาม คลื่นลมไมรุนแรง เหมาะแกการแข่งขันกีฬาทางน้ำ
                                                                      ่
                                                                                    ่
                    และการล่องเรือนำเที่ยวเพอชื่นชมธรรมชาติ โดยกิจกรรมการแข่งขันกีฬาทางทะเลที่นิยมจัดใน
                                           ื่
                    ประเทศไทย ได้แก่ การแข่งขันตกปลา ซึ่งจัดโดยหน่วยงานเอกชนทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับ
                    นานาชาติ การแข่งขันเจ็ตสกี ซึ่งประเทศไทยมีการจัดแข่งขนทุกปี ณ เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี และมี
                                                                    ั
                    นักกีฬาเจ็ตสกีของประเทศไทยสามารถคว้ารางวัลแชมป์โลกได้ถึง 7 คน การแข่งขันเรือใบระดับ
                    นานาชาติ ซึ่งเป็นการแขงขันชิงถ้วยพระราชทาน ณ จังหวัดภูเก็ต และการแข่งขันเรือเร็ว โดยสมาคม
                                        ่
                    เรือเร็วแห่งประเทศไทยได้จัดการแข่งขันเรือเร็วครั้งแรกในรายการ “World Formular1
                    Powerboat Thailand Grand Prix 1992” ณ ฐานทัพเรือสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

                           กิจกรรมการล่องเรือนำเที่ยว เป็นกิจกรรมยอดนิยมของทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติที่ต้องการ
                    ชื่นชมธรรมชาติและประกอบกิจกรรมทางน้ำ โดยการแล่นเรือไปตามเกาะต่าง ๆ เรือที่ใช้ในการ

                    ดำเนินกิจกรรมมี 2 ประเภท ได้แก่ เรือใบคาตามารัน (catamaran) ซึ่งเป็นเรือที่แล่นค่อนข้างช้า
                                                                                                ื
                    กำลังเรือน้อย ใช้กำลังลมช่วยในการแล่นเรือ นิยมใช้ในการล่องเรือชมวิวและตกปลา และเรอยอชท์

                    (yacht) ดังภาพที่ 2.4 ซึ่งเป็นเรือที่มีกำลังแล่นเรือเร็วกว่า ไม่มีใบเรือเพื่อช่วยในการเคลื่อนที่ สามารถ
 ภาพที่ 2.3  แหล่งดำน้ำที่สำคัญของประเทศไทย   ประกอบกิจกรรมได้หลากหลายกว่า และสามารถจุผู้โดยสารได้มากกว่า เรือนำเที่ยวในประเทศไทยมี

 ที่มา: คณะอนุกรรมการจัดการความรู้เพื่อผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (2566)   2,657 ลำ และมีท่าเรือนำเที่ยวมากถึง 111 ท่า ครอบคลุม 18 จังหวัด (กลุ่มสถิติวิเคราะห์ สำนัก





                                                               การใช้้ประโยช้น์์จากทรัพยากรทางทะเลและช้ายฝั่่�ง  37



                                                                                                     8/8/2567   10:48:47
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   37
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   37                           8/8/2567   10:48:47
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60