Page 51 -
P. 51

32                                                                                                 33

                                               ์
                                                                ิ
                                                                          ิ
                                             ิ
                     โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                  ื
                                    ิ
 1.1 การประมงทะเล   ท่าเรือของประเทศเจ้าของเรือ (คณะอนุกรรมการจัดการความรู้เพอผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล,
                                                                           ื่
 การประมงทะเล หมายถึง กิจกรรมการจับสัตว์น้ำเค็ม ทั้งนี้รวมถึง ปลาทะเล กุ้งทะเล ปู และ  2562)
 หอยทะเล ที่อาศัยอยู่บริเวณผิวน้ำ (pelagic) และบริเวณพนท้องน้ำ (benthic หรือ demersal)
 ื้
 ิ
 โดยแหล่งทำการประมงอยู่บริเวณชายฝั่งทะเล (coastal areas) บรเวณไหลทวีป (continental
 ่
 shelf) และบริเวณน่านน้ำทะเลเปิด (open sea) (สุวัจน์ ธัญรส, 2550) ในปี พ.ศ. 2564 ประเทศไทย
 สามารถจับสัตว์น้ำเค็มได้มากถึง 1,299.5 พนตัน คิดเป็นมูลค่า 63.6 ล้านบาท โดยจับได้กลุ่มปลาผิว
 ั
 น้ำมากที่สุด (ได้แก่ ปลากะตัก ปลาลัง และปลาทูแขก เป็นต้น) รองลงมาคือกลุ่มปลาหน้าดิน (ได้แก่

 ้
 ๊
 ึ
 ปลาทรายแดง ปลาปากคม และปลาตาหวาน เป็นตน) หมกกล้วย กุ้งแชบวย ปูม้า และหอยลาย
 ้
 ่
 ั
 ตามลำดับ (กรมประมง, 2565) การประมงทะเลแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไดแก การประมงชายฝ่ง
 และการประมงเชิงพาณิชย์

 1.1.1 การประมงชายฝั่ง
 ั
 ่
 ื้
 การประมงชายฝง (inshore fisheries) หรือ ประมงพนบ้าน (artisanal fisheries) เป็นการ
 ื่
 ประมงเพอยังชีพ ใช้เครื่องมือแบบง่าย ๆ ใช้แรงงานคน และใช้เรือขนาดเล็ก ยกตัวอย่างเช่น ลอบปู
 เบ็ด แห และอวนทับตลิ่ง เป็นต้น กิจกรรมการประมงมีความสัมพนธ์กับวิถีชีวิตของคนไทยมาช้านาน
 ั
 เป็นแหล่งอาหารและแหล่งรายได้ สร้างอาชีพให้แกคนไทยจำนวนมาก จากการสำรวจพบว่าในปี พ.ศ.
 ่
 ั
 ื
 2543 มีครัวเรือนที่ทำประมงทะเลตามข้อมูลของสำมะโนประมงทะเลจำนวน 55,981 ครวเรอน
 ั
 ั
 ครอบคลุมหมู่บ้านมากกว่า 2,000 หมู่บ้าน ดงแสดงในภาพที่ 2.1 (สนิท อกษรแก้ว, 2545) ซึ่ง
 ั
 ิ
 ิ
 ้
 ื
 ั
 ิ
 ปรมาณการจับสตว์น้ำจากการทำประมงพนบ้านคดเป็นร้อยละ 10 จากปริมาณผลผลตสตว์น้ำจาก
 การประมงทะเลทั้งหมด

 1.1.2 การประมงเชิงพาณิชย  ์
 ื่
 ์
 การประมงเชิงพาณิชย (commercial fisheries) เป็นการประมงเพอแสวงหากำไร มีการใช้
 ุ
 เรือขนาดใหญ่ ติดเครื่องยนต์ มีอปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีการใช้ห้องเย็นเพอเก็บรักษาปลา
 ื่
 และใช้เครื่องมือทำการประมงขนาดใหญ เช่น อวนลาก อวนลอมจบ อวนครอบ อวนตดตา อวนรุน
 ิ
 ั
 ่
 ้
 เคย และเบ็ดราวทะเลลึก เป็นต้น เครองมอเหลานทำใหการทำการประมงสามารถเดินทางออกไป
 ่
 ้
 ี
 ้
 ่
 ื
 ื
 นอกชายฝั่งได้มากขึ้นและสามารถเดินทางได้หลายวัน โดยเรือประมงพาณิชย์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
 ได้แก่ เรือประมงน้ำลึก (deep sea fisheries) หรือเรือประมงนอกชายฝั่ง (offshore fisheries) ซึ่ง
 ทำการประมงห่างจากชายฝั่ง แต่ยังคงอยู่ในน่านน้ำประเทศไทย (ระยะทางไม่เกิน 200 ไมล์ทะเลจาก
 ั
 ื
 ชายฝ่ง) และเรอประมงสากล (distant water fisheries) หรือเรือประมงนอกน่านน้ำ (oversea
                              ภาพที่ 2.1  แผนที่ความหนาแน่นของครัวเรือนที่ทำการประมงทะเล พ.ศ. 2543
 fisheries) ซึ่งทำการประมงนอกน่านน้ำประเทศไทย เป็นการจับปลาในมหาสมุทร ระยะทางไกลจาก
                                                 ที่มา: สนิท อักษรแก้ว (2545)
                                                               การใช้้ประโยช้น์์จากทรัพยากรทางทะเลและช้ายฝั่่�ง  33
                                                                                                     8/8/2567   10:48:46
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   33
         ���������������������������������� �.�������� ���������.indd   33                           8/8/2567   10:48:46
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56