Page 69 -
P. 69

ิ
                                           ิ
                                 ิ
                                                                                ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                              ื
                                               ์
                    5.5 ปญหาหลักที่พบในเกษตรกรผูปลูกทุเรียน


                           จากการรวบรวมขอมูลและงานวิจัยในอดีต มีงานวิจัยจำนวนหนึ่งไดศึกษาปญหาตางๆ ที่เกษตรกรผู

                    ปลูกทุเรียนเผชิญในการผลิต โดยสามารถสรุปเปนปญหาในดานตางๆ ไดแก ดานการผลิต ดานกฎระเบียบ

                    การคาที่มีผลตอการสงออก ดานคุณภาพและมาตรฐาน ดานการแขงขัน นอกจากนี้ การระบาดของไวรัสโควด-
                                                                                                       ิ
                    19 ก็เปนปญหาใหมที่มีความสำคัญตอเกษตรกรผูปลูกทุเรียนดวยเชนกัน มีรายละเอียดดังนี้


                           1)  ปญหาในดานการผลิต


                           ปญหาในดานการผลิตทุเรียนไทยโดยสวนใหญพบปญหาเรื่องโรคแมลง ไดแก ปญหาโรครากเนาโคน
                                                                                  
                    เนา (ไฟทอปเธอรา) ซึ่งเกิดจากเชื้อราในทเรียน และโรคเชื้อราสีชมพู ทั้งในชวงกอนใหผลผลิตและหลังจากให
                                                    ุ
                    ผลผลิตแลว ทำใหตนทุเรียนทรุดโทรมและตายได สงผลใหอัตราการรอดของทุเรียนลดลงและไมเปนไปตามที่

                                                                                  ั
                                            
                    คาดการณไว และคุณภาพไมเปนไปตามความตองการของตลาด ดังนั้นการดูแลจดการสวนที่ดีจึงเปนสิ่งสำคัญ
                    ที่จะชวยใหตนทุเรียนมีความสมบูรณ ตานทานตอโรคแมลงตาง ๆ และลดความเสียหายจากความแปรปรวน

                    ของสภาพอากาศ รวมทั้งชวยใหคุณภาพ ขนาด และรูปทรง ตรงกับความตองการของตลาดมากขึ้น (สำนักงาน

                    เศรษฐกิจการเกษตร, 2563)

                           2)  ปญหากฎระเบียบทางการคาที่มีผลตอการสงออกทุเรียน


                           กฎระเบียบการนำเขาผลไมของจีน ซึ่งมีความเขมงวดมากขึ้น โดยกำหนดใหสวนผลไมที่ปลูกเพื่อ

                                  ึ้
                    สงออกไปจีนตองขนทะเบียนและไดรับมาตรฐานการปฏิบติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practice:
                                                                ั
                    GAP) สวนโรงคัดบรรจุตองผานมาตรฐานหลักปฏิบัติที่ดีในการผลิตสินคาเกษตรดานพืช (Good
                    Manufacturing Practice: GMP) สงผลใหเกษตรกรและผูประกอบการตองมีการปรับตัวเพื่อยกระดับ

                    มาตรฐานของผลไมไทยที่จะสงออกใหมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563) อยางไรก ็

                    ตามภายหลังจากที่ไทยและจีนไดเห็นชอบรวมกันในการใชรางพิธีสารวาดวยขอกำหนดในการกักกันโรคและ

                    ตรวจสอบสำหรับการสงออกและนำเขาผลไมผานประเทศที่สามระหวางประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาชน

                    จีน ระหวางกระทรวงเกษตรและสหกรณของไทยกับกระทรวงศุลกากรของจีนฉบับใหม ตั้งแตวันที่ 30
                    เมษายน ป พ.ศ. 2563 ทำใหการนำเขาและสงออกผลไมดวยเสนทางขนสงทางบกผานประเทศที่สามมีความ

                    เปนระบบระเบยบมากยิ่งขน โดยจีนอนุญาตใหนำเขาไดที่ดานตงซิงและดานรถไฟผิงเสียง เพมเติมจากพิธีสารฯ
                                                                                          ิ่
                                        ึ้
                               ี
                                                           
                    เดิม ที่ใหนำเขาไดแคดานโหยวอี้กวนและดานโมฮาน ทั้งนี้ผลไมของไทยที่ไดมีการแลกเปลี่ยนขอมูลทะเบียน
                    สวนและโรงคัดบรรจุแลวจะตองระบุทะเบียนดังกลาวบนบรรจุภัณฑ เพื่อใหงายตอการตรวจสอบยอนกลับ

                    กรณีเกิดปญหา ในขณะที่ผลไมเวียดนามที่สงเขาจีนก็ปฏิบัติในลักษณะเดียวกัน สงผลใหการแปลงและสวม






                                                             5-14
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74