Page 74 -
P. 74

ิ
                                           ิ
                              ื
                                                                   ิ
                                                                                ิ
                                               ์
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                           บทที่ 6


                                            ผลการสำรวจเกษตรกรผูปลูกมะมวง




                          ผลการศึกษาในบทนี้แสดงการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการรวบรวมขอมูลทุติยภูมิ จากการสัมภาษณ 

                    และจากการสำรวจเกษตรกรผูปลูกมะมวงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบดวยเกษตรกรผูปลูกมะมวง
                                                                                                ื้
                               ื้
                                                                                                   ่
                                                                                             
                    มหาชนกจากพนที่จังหวัดกาฬสินธุ จำนวน 50 ครัวเรือน และเกษตรกรผูปลูกมะมวงน้ำดอกไมในพนทีจังหวัด
                    นครราชสีมา จำนวน 25 ครัวเรือน  โดยจะแบงการประมวลผลเปน 5 สวน โดยสวนที่ 1 เปนการแสดงขอมูล
                    สถานการณปจจุบันของมะมวงมหาชนกและมะมวงน้ำดอกไม สวนที่ 2 และ 3 เปนการแสดง ขอมูลสัมภาษณ
                    เกษตรกรกลุมผูนำ ขอมูลเชิงประชากรและลักษณะการทำเกษตร ทัศนคติตอความเสี่ยงดานตางๆ พฤติกรรม

                    การปรับตัวเพื่อรองรับความเสี่ยง ตลอดจนผลกระทบของสถานการณโควิด 19 และแนวทางการแกไขปญหา

                    ของเกษตรกรกลุมมะมวงมหาชนกในพื้นที่ จังหวัดกาฬสินธุและเกษตรกรกลมมะมวงน้ำดอกไมในพนที่ จังหวัด
                                                                                                ื้
                    นครราชสีมา ตามลำดับ และ สวนสุดทาย เปรียบเทียบความแตกตางของเกษตรกรทั้งสองกลุมทั้งในมิติ

                    การพึ่งพิงตลาด ระดับการพัฒนาของกลุม ดานทัศนคติของความเสี่ยง พฤติกรรมการปรับตัวเพื่อรองรับและ

                    วิเคราะหที่มาของความแตกตางนั้น


                    6.1 สถานการณมะมวงมหาชนกและมะมวงน้ำดอกไมของประเทศไทย
                                    
                    6.1.1  มะมวงมหาชนก


                          สถานการณการเพาะปลูกมะมวงมหาชนกในประเทศตลอดระยะเวลา 10 ปที่ผานมา (ป 2554 – 2563)
                    จากตารางที่ 6.1 พบวา เนื้อที่ปลูกและเนื้อที่ใหผลเพิ่มขึ้นจาก 1,270 ไรและ 308 ไรในป 2554 เปน 10,153

                    ไร 4,392 ไร ในป 2564 ทำใหผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นจาก 362 ตันในป 2554 เปน 9,881 ตันในป 2564 โดย

                    ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนพื้นที่หลักของการปลูกมะมวงพันธุนี้ จังหวัดที่มีเนื้อที่ใหผลผลิต
                    มะมวงมหาชนกมากที่สุด 3 อันดับแรกในป พ.ศ. 2563 ไดแก กาฬสินธุ (2,436 ไร) เชียงใหม (1,282 ไร) และ
                                                                                   
                    ลำพูน (477 ไร) ตามลำดับ ผลผลิตจากจังหวัดกาฬสินธุในป 2563 มีมากถึง 7,353 ตัน หรือรอยละ 74 ของ

                    ผลผลิตในประเทศทั้งหมด อยางไรก็ดีผลผลิตมะมวงมหาชนกตอไรในแตละปคอนขางผันผวน แตในป 2563
                    ผลผลิตตอไรจากพื้นที่ปลูกในจังหวัดกาฬสินธุสูงถึง 3 ตันในขณะที่ผลผลิตตอไรในพื้นที่อื่นๆ เชน เชียงใหมหรือ

                    ลำพูนอยูที่ไมเกิน 1.5 ตัน

                                                                                                        
                          สำหรับสถานการณราคามะมวงมหาชนกที่เกษตรกรขายไดระหวางป พ.ศ. 2554 – 2563 พบวา
                    ราคามะมวงมหาชนกผันผวนและแตกตางกันมากระหวางจังหวัด แมกระทั่งในจังหวัดที่อยูใกลเคียงกันเชน
                    เชียงใหมและลำพูน ราคาเฉลี่ยที่เกษตรกรจังหวัดกาฬสินธุขายไดจัดวาสูงกวาราคาที่เกษตรกรทางภาคเหนือ
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79