Page 71 -
P. 71
ื
ิ
์
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เกษตรกรทดลองปลูก ซึ่งหากไมมีปญหา คาดวาผลผลิตที่ทดลองปลูกในชวงนี้จะเริ่มใหผลผลิตในอก 5 ปขางหนา
ี
และหากประสบผลสำเร็จคาดวาจะมการขยายพื้นที่เพาะปลูกเพมในมณฑลไหหนานและในจีนตอนใต (ฝายเกษตร
ี
ิ่
ประจำสถานกงสุลใหญ ณ นครกวางโจว, 2564) ดังนั้น ในอนาคตหากจีนผลิต ทุเรียนเพื่อตอบสนองความตองการ
บริโภคในประเทศไดเอง จะสงผลกระทบตอการสงออกทุเรียนของไทยโดยตรง ดังนั้น ไทยจำเปนตองกระจาย
ความเสี่ยงจากการพึ่งพาตลาดจีนเพียงอยางเดียว เปนการแสวงหาตลาดใหมๆ ที่มีศักยภาพเพิ่มเติม ไดแก
ตะวันออกกลาง และอินเดีย เนื่องจากมีประชากรจำนวนมากและนิยมบริโภคทุเรยนเชนกัน
ี
5) ปญหาจากโรคระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่สงผลกระทบตอการสงออกทุเรียน
จากรายงานสถานการณทุเรียนไทยในตลาดจีน พบวา ในป พ.ศ. 2563 ซึ่งเปนชวงสถานการณ
ิ
การระบาดของไวรัสโควด-19 ทั่วโลก ในขณะที่จีนสามารถควบคุมสถานการณไดดี แตผลจากการใชมาตรการ
ในการควบคุมการแพรระบาดโดยควบคุมการเดินทางเขาออกของคน ทั้งชาวจีน รวมถึงคนขับรถบรรทุกสินคา
ระหวางประเทศ มาตรการดานสาธารณสุข และมาตรการในการตรวจสินคานำเขาที่เขมงวด ยังคงดำเนินการ
อยางตอเนื่อง ประกอบกับการยกเลิกเที่ยวบิน ทำใหสินคาผลไมไมสามารถขนสงทางอากาศไดสะดวกดังเชนที่
ผานมา จึงมีการปรับเปลี่ยนมาขนสงทางบกมากขึ้น อยางไรก็ดีเมื่อเปรียบเทียบปริมาณนำเขาทุเรียนของจีน
ิ
ี
เดือนมกราคม-พฤศจกายน ของป พ.ศ. 2563 เทียบกับ ป พ.ศ. 2562 พบวาการนำเขาทุเรียนจากไทยลดลงเพยง
รอยละ 4.15 (ป พ.ศ. 2562 มีปริมาณการนำเขา 592,998 ตัน และป พ.ศ. 2563 มีปริมาณการนำเขา 568,385
ตัน) ดังแสดงในตารางที่ 5.6 และรูปที่ 5.16 (ฝายการเกษตรประจำสถานกงสุลใหญ ณ นครกวางโจว, 2563)
ตารางที่ 5.6 เปรียบเทียบปริมาณการนำเขาทุเรียนของจีน ป พ.ศ. 2562-2563
หนวย: ตัน
ื
เดอน ป พ.ศ. 2562 ป พ.ศ. 2563
ม.ค. 10,934 8,956
ก.พ. 16,697 8,956
มี.ค. 52,673 37,840
เม.ย. 126,770 121,990
พ.ค. 113,202 134,552
มิ.ย. 27,182 70,433
ก.ค. 50,354 65,130
ส.ค. 126,823 33,354
ก.ย. 47,783 46,938
ต.ค. 13,588 24,205
พ.ย 6,992 16,031
รวมปริมาณนำเขา 592,998 568,385
ที่มา: ฝายการเกษตรประจำสถานกงสุลใหญ ณ นครกวางโจว ประมวลผลโดยผูวิจัย
5-16