Page 67 -
P. 67
์
ิ
ิ
ิ
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รูปที่ 5.14 โครงสรางตลาดทุเรียนของจังหวัดจันทบุรี
ที่มา: สำนกวิจัยเศรษฐกิจการเกษตรและสำนักงานเศรษฐกิจเกษตรที่ 6 (2560) ประมวลผลโดยผูวิจัย
ั
5.4.2 หวงโซอุปทานทุเรียนในภาคใต
จังหวัดชุมพรถือวาเปนแหลงผลิตทุเรียนที่สำคัญเปนอันดับ 1 ของภาคใต ซึ่งแหลงเพาะปลูกทุเรียนที่
สำคัญของจังหวัด ไดแก อำเภอทาแซะ อำเภอสวี อำเภอเมือง และอำเภอพะโตะ โดยโครงสรางตลาดทุเรียน
ของจังหวัดชุมพร ประกอบดวย เกษตรกรผูปลูกทุเรียน ผูรวบรวมอิสระ ตัวแทนลง ลงหรือตัวแทนผูสงออก
พอคาทองถิ่นและการแปรรูปภายในจังหวัด ดังแสดงในรูปที่ 5.15 โดยสามารถสรุปไดดังนี้ (สำนักวิจัย
เศรษฐกิจการเกษตรและสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8, 2560)
1) เกษตรกรผูปลูกทุเรียน โดยมีการทำขอตกลงซื้อลวงหนากับผูซื้อ ไดแก ผูรวบรวมอิสระ
ตัวแทนลง พอคาเรที่มารับซื้อหนาสวน หรือกระจายแกคนทั่วไป และผลผลิตบางสวนสงเขาโรงงานแปรรูป
2) ผูรวบรวมอิสระ ทำหนาที่รวบรวมผลผลิตภายในจังหวัดและบางสวนมาจากตางจังหวัด จากนั้น
ทำการกระจายผลผลิตใหแกลงในจังหวัด อาจกระจายเองโดยตรง หรือกระจายผานตลาดมรกต (ศูนย ONE
STOP SERVICE เพื่อใหบริการการสงออกผักและผลไม) และมีการกระจายผลผลิตนอกจังหวัด โดยผานพอคา
สงและพอคาปลีกในตลาดมรกต รวมทั้งผานตัวแทนลงที่มีตนสังกัดอยูนอกจังหวัด สำหรับผลผลิตที่ตกเกรดจะ
เขาสูกระบวนการแปรูปในจังหวัด
5-12