Page 55 -
P. 55

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                                                                                 บทที่ 3



                                                       ทางเลือกผลผลิตสัตวน้ำจากการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ



                                      ในบทนี้จะเปนการอธิบายถึงความสำคัญของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ การวิเคราะหเชิง
                         เศรษฐกิจของฟารมสัตวน้ำ ซึ่งประกอบดวยการนำทฤษฎีการผลิตมาใชกับการวิเคราะหประสิทธิภาพ

                         การผลิต ขอมูลตนทุนและรายได โดยมีปจจัยในหลายดานมาเกี่ยวของ ไดแก การจัดการฟารม

                         เทคโนโลยี สิ่งแวดลอม ทั้งในระบบฟารมเพาะพันธุ และการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ เพื่อใหผูที่สนใจทำฟารม

                         สัตวน้ำไดทราบขอมูลเบื้องตนในดานปจจัยการผลิตที่เกี่ยวของ และขอมูลในการลงทุนในฟารมสัตวน้ำ

                         โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้


                         3.1 ความสำคัญของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ


                                จากการที่ทรัพยากรสัตวน้ำตามธรรมชาติไดมีจำนวนลดลงอยางตอเนื่องซึ่งมีสาเหตุมาจากการ

                         ทำประมงมากเกินควร ปริมาณสัตวน้ำเพื่อการบริโภคที่มาจากธรรมชาติจึงไมเพียงพอตอการบริโภค

                         การเพาะเลี้ยงสัตวน้ำจึงเปนเสมือนทางเลือกของการเพิ่มใหกับการบริโภคอาหารทะเล ที่มาลดชองวาง
                         ระหวางความตองการที่เพิ่มสูงขึ้นที่มากไปกวาอุปทานสัตวน้ำที่มีอยู ไมวาจะเปนการเพิ่มปริมาณสัตวน้ำ

                         ใหเพียงพอตอการบริโภค การเพาะเลี้ยงสัตวน้ำยังถือวาเปนการเพิ่มสารอาหาร การเพิ่มรายได การเพิ่ม

                         โอกาสของการทำงาน และเพิ่มความยั่งยืนทางเศรษฐกิจของภูมิภาคดวย (Dirk and Charles,1986)

                         การเพาะเลี้ยงสัตวน้ำในปจจุบัน มีทั้งเพาะเลี้ยงสัตวน้ำชายฝง เพาะเลี้ยงสัตวน้ำในน้ำกรอย  และ

                         เพาะเลี้ยงสัตวน้ำจืด แนวโนมของการจับแบบธรรมชาติลดลงเรื่อย ๆ ในขณะที่การเพาะเลี้ยงมีแนวโนม
                         เพิ่มขึ้นในชวงแรก แตในชวงป 2556-2563 เปนตนมามีแนวโนมนอยลง ดังที่ไดกลาวไวในบทที่ 1 (ภาพ

                         ที่1.5) ซึ่งเกิดจากการเกิดโรค และการนำเขาจากประเทศเพื่อนบาน จึงทำใหปริมาณการเลี้ยงของ

                         เกษตรกรลดลง


                                      Yung C.Shang. (1985) กลาววา เศรษฐศาสตรการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำไดถูกพิจารณา

                         ใน 2 ระดับคือระดับจุลภาค และระดับมหภาค ระดับเศรษฐศาสตรจุลภาคในการเพาะเลี้ยงจะพิจารณา

                         ในดานการจัดการฟารม มาตรการการจัดการฟารม และองคประกอบตางๆ ที่ทำใหเกิดประสิทธิภาพใน

                         การเลี้ยง แตสำหรับดานเศรษฐศาสตรมหภาค จะเปนการวัดผลประโยชนและตนทุนทางสังคมกับ

                         โครงการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ ดังนั้นการวิเคราะหเศรษฐกิจสัตวน้ำนั้นควรจะพิจารณาทั้งในสวนของการ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60