Page 52 -
P. 52

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                          สำหรับงานวิจัยที่ผานมาในดานเศรษฐศาสตรการประมง ในประเทศไทยจะพบวาไดนำมาใช

                    ในการกำหนดจำนวนการลงแรงประมง และปริมาณการจับสัตวน้ำที่เหมาะสม ไดแก การวิเคราะหจุด

                    ที่เหมาะสมทางชีววิทยาและทางเศรษฐศาสตรสำหรับประมวลนโยบายเพื่อแกปญหาการทำประมง
                    เกินควรในพื้นที่อาวไทยในการทำประมงในปลาหนาดิน (Ahmed M. et al,2007) โดยพิจารณาราคา

                    สัตวน้ำคงที่และเปนความสัมพันธของตนทุน รายได และผลตอบแทนที่ขึ้นอยูกับการลงแรงประมง ได

                    ใชโมเดล Schaefer และ Fox ในการประมาณคาหาจุดเหมาะสมในการทำประมงเสรี (OA) การทำ

                    ประมงอยางยั่งยืนสูงสุด (MSY) และการทำประมงผลไดสูงสุดทางดานเศรษฐศาสตร (MEY)

                    เปรียบเทียบกับการลงประมงประมงในปจจุบัน ซึ่งพบวา การลงแรงประมงในระดับการประมงอยาง

                    ยั่งยืนสุงสุด โดยลงแรงประมงเทากับ 34.76 ลานชั่วโมงทำประมงและ 37.69 ลานชั่วโมงทำประมงจะ

                    ทำใหไดกำไรเทากับ 4,212 บาทตอลำและ 3,491 บาทตอลำของทั้งสองโมเดลตามลำดับ และ การทำ
                    ประมงระดับผลไดสูงสุดทางเศรษฐศาสตร จะตองลงแรงประมงนอยลงมาที่ 28.42 และ25.86 ลาน

                    ชั่วโมงทำประมงจะทำใหไดกำไรเทากับ 4,433 และ 3,943 บาทตอลำ  ของทั้งสองโมเดลตามลำดับ

                    นอกจากนั้นยังไดเสนอใหมีการจำกัดการทำปะมง รวมกับการจัดการประมงชุมชน การจายใบอนุญาต

                    การเก็บภาษีเพื่อลดการลงแรงประมง


                           การทำประมงของเครื่องอวนลอมจับ (อวนดำและอวนลอมซั้ง) ในอาวไทยตอนในของพื้นที่

                    สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรปราการ และชลบุรี กำหนดวาสำหรับดุลภาพระดับการลงแรง
                    ประมง ณ จุดผลทางเศรษฐกิจสูงสุด ควรจะมีการลงแรงประมงเทากับ 13,890 วันตอป และปริมาณ

                    การจับสัตวน้ำไมเกิน 37,922 ตันตอป คิดเปนประโยชนสูงสุดมีมูลคาเทากับ 905.35 ลานบาทตอป

                    ซึ่งควรลดจำนวนเรืออวนลอบจับในบริเวณอาวไทยตอนในลงจาก 151 ลำ เหลือเพียง 129 ลำ (กุลภา

                    สุพงษพันธุ, 2543) และ เบญจวรรณ คงขน และคณะ (2557) ไดศึกษาระดับการทำประมงปูมาใน

                    อาวไทยที่เหมาะสมในเชิงเศรษฐศาสตร โดยเสนอใหมีการลงแรงประมงเทากับ 19,477 ลำ จะทำใหมี

                    ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรสูงสุดเทากับ 26,113 ตัน ทั้งนี้ทั้งสองงานวิจัยไดใชแบบจำลองชีว

                    เศรษฐศาสตรโดยใชเสนอุปทานวกกลับ (Backward bending supply curve) ในกรณีราคาสัตวน้ำที่
                    เปลี่ยนแปลงไปในการวิเคราะห


                          ในงานวิจัยตางประเทศมีการวิเคราะหจุดเหมาะสมทางเศรษฐศาสตรในการทำประมงหลาย

                    งาน เชน C. M. Dichmont et al. (2010) กลาววา การทำประมงระดับผลไดสูงสุดทางเศรษฐศาสตร

                    นั้นเปนพื้นฐานสำคัญในการกำหนดนโยบายหลักของการจัดการประมงในประเทศออสเตรเลีย การที่




                                                       หนา | 40
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57