Page 53 -
P. 53

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                          จะประมาณการการทำประมงระดับผลไดสูงสุดทางเศรษฐศาสตร นั้นคอนขางมีความซับซอน ไมใช

                          เพียงแตจะประมาณการจากทฤษฎีเทานั้น ตองคำนึงถึงความเปนจริงในการทำประมงดวย ทั้งนี้ได

                          กำหนดสมมติฐานในการประมาณการไวหลายดาน ไดแก ไมมีขอจำกัดใดๆ กำหนดการลงแรงประมง
                          ต่ำสุด กำหนดใหไมขาดทุน กำหนดใหไมขาดทุนและกำหนดการลงแรงประมงที่มากที่สุด ไมขาดทุน

                          และกำหนดความหลากหลายของเรือ ไมขาดทุนและตนทุนกับราคาคงที่ ไมขาดทุนและมีทางเลือกใน

                          การกำหนดตนทุน แตละดานมีขอจำกัดที่แตกตางกัน ผลของการประมาณก็แตกตางกันไป ราคาและ

                          ตนทุนจะเปนตัวแปรสำคัญในการประมาณการการทำประมงผลไดสูงสุดทางเศรษฐศาสตร การ

                          กำหนดขอบเขตของการจัดการนั้นจะตองมีผูที่มีสวนไดสวนเสีย เชน นักวิทยาศาสตร นัก

                          เศรษฐศาสตร ชาวประมง และผูประกอบการ มาชวยกำหนดรวมกัน


                                 Bertignac M et al. (2001) ไดประมาณการลงแรงประมงที่เหมาะสมของอวนลอมจับ อวน

                          เบ็ดตวัด และอวนเบ็ดราวในการจับปลาทูนาในนานน้ำมหาสมุทรแปซิฟก ทั้งนี้ไดพิจารณาถึงคาเชา
                          ทรัพยากรที่เกิดขึ้น ผลการศึกษาพบวา หากตองการใหเกิดคาเชาทรัพยากรเพิ่มขึ้นจะตองมีการลด

                          ขนาดของกองเรือในทุกเครื่องมือ ยกเวนกองเรือทูนาเบ็ดราว โดยเสนอใหมีการเปลี่ยนแปลงระดับ

                          การเก็บคาธรรมเนียมที่ขึ้นอยูกับรายไดในการจับสัตวน้ำ นอกจากนั้น Bassirou D. at al. (2018) ได

                          ศึกษาการวิเคราะหจุดที่เหมาะสมทางเศรษฐศาสตรในการทำประมงกุงโดยพิจารณาการเปลี่ยนแปลง

                          ของสภาพภูมิอากาศ ซึ่งพบวาการทำประมงผลไดสูงสุดทางเศรษฐศาสตร สามารถนำมาใชรวมกับผล
                          ในดานของระบบนิเวศและดานเศรษฐศาสตร โดยกำหนดใหมีผลกระทบดานสภาพภูมิอากาศที่

                          เปลี่ยนแปลงไป เชน ความไมแนนอนของอุณหภูมิ จะสงผลตอการลงแรงประมงควรจะตอง

                          เปลี่ยนแปลงอยางไร โดยพิจารณาถึงผลของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงและสงผลตอการ

                          เคลื่อนยายของฝูงสัตวน้ำ


                                 สรุปทายบททรัพยากรสัตวน้ำเปนแหลงความมั่นคงของอาหารที่มีความจำกัด ดังนั้นการทำ

                          ประมงจากแหลงน้ำธรรมชาติไมวาจะเปนทางทะเลหรือในพื้นที่น้ำจืดจะเปนสวนสำคัญในการไดมา

                          ของผลผลิตในอุตสาหกรรมสัตวน้ำซึ่งปจจุบันพบวามีแนวโนมทรัพยากรสัตวน้ำที่ลดลงเรื่อย ๆ มีการ

                          ทำประมงมากเกินควรและเกินจุดดุลยภาพที่เหมาะสมในเชิงชีววิทยาและเชิงเศรษฐศาสตร ดังนั้น
                          การศึกษาถึงการเติบโตของฝูงสัตวน้ำเปนทฤษฎีที่สำคัญในการกำหนดระดับการทำประมงที่เหมาะสม

                          การทำประมงอยางยั่งยืนสูงสุด และการทำประมงเพื่อใหไดผลไดเชิงเศรษฐศาสตร จะเปนวิธีการที่จะ







                                                              หนา | 41
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58