Page 37 -
P. 37

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                กราฟแสดงความสัมพันธระหวางการเจริญเติบโตของฝูงสัตวน้ำ F(X) และขนาดของฝูงสัตวน้ำ

                         (Fish Stock Size) เมื่อเวลาระยะเวลาผานไป หรือสามารถพิจารณาจากสวนตางของการอัตราสวนเพิ่ม

                         ของการเติบโต (marginal growth) ในภาพที่ 2. 3 พบวา ในชวงแรกอัตราสวนเพิ่มของการเติบโตมีคา
                         เปนบวก และหลังจากขนาดฝูงสัตวน้ำไมมีการเติบโตเพิ่มขึ้นหรืออัตราการเติบโตคงที่ (0) อัตราสวนเพิ่ม

                         การเติบโตจะลดนอยลง (มีคาเปนลบ)




                         2.2 การทำประมงกับการเติบโตของขนาดฝูงสัตวน้ำ


                                จากหัวขอที่ผานมาไดกลาวถึงการเติบโตของขนาดฝูงสัตวน้ำตามธรรมชาติ ในหัวขอนี้จะ

                         อธิบายถึงผลกระทบของการเติบโตของขนาดฝูงสัตวน้ำเมื่อมีการทำประมงเกิดขึ้น ซึ่งจะพิจารณาจาก

                         สมการดังนี้


                         กรณีที่มีการทำประมง


                                Stock change = R+I-M-H                                       ………….(3)


                                R = การเกิด การทดแทนของสัตวน้ำ


                                I = การเจริญเติบโตของสัตวน้ำ


                                M = การตายตามธรรมชาติ


                                H (harvest) = การทำประมง


                                                           การลง
                                                            แรง
                            *จํานวนเรือประมง Fishing fleet               *ขนาดของฝูงสัตว์นํ า การสืบพันธุ์ และ

                            number of vessels                            ความสามารถในการเจริญเติบโต

                            *ราคาสัตว์นํ า (Fish price)                  *ขนาดของฝูงสัตว์นํ าที แตกต่างกันขึ นอยู่

                            *ต้นทุนการลงแรงประมง Effort cost             กับการเกิด การเติบโต และการตายตาม

                            *ความหลากหลายของขนาดกลุ่มเรือ                ธรรมชาติ
                                                           การจับ
                         ภาพที่ 2. 4 สวนประกอบพื้นฐานเมื่อมีการทำประมง

                         ที่มา: ดัดแปลงจาก Lee G. Anderson and Juan Carlos Seijo. (2010)





                                                             หนา | 25
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42