Page 41 -
P. 41

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





































                         ภาพที่ 2. 6 จุดสมดุลของการจับสัตวน้ำในระดับตางของการเติบโตของฝูงสัตวน้ำ

                         ที่มา: ดัดแปลงจาก Ola Flaaten (2010)


                                จากภาพที่ 2. 6แสดงจุดสมดุลของการจับสัตวน้ำที่ระดับการเติบโตของ ในแตละระดับ ณ จุด

                         F(X) 1=H 1 ขนาดของฝูงสัตวน้ำ X 1 แสดงใหเห็นวาการลงแรงประมง E 1 เพื่อจับสัตวน้ำ ณ การเติบโต

                         ของฝูงสัตวน้ำ F(X) 1 ขนาดของฝูงสัตวน้ำมีขนาด X 1 เปนจุดสมดุลในการจับอยางยั่งยืน อยางไรก็ตาม
                         ณ จุดสมดุลนี้ ขนาดของฝูงสัตวน้ำมีการเติบโตในอัตราที่ลดลง ถึงแมจะยั่งยืนแตขนาดของฝูงสัตวน้ำ

                         ไมใชขนาดที่เติบโตสูงสุด


                                เมื่อเปรียบเทียบกับอีกระดับ ณ จุด F(X) 5=H 5 การเติบโตของฝูงสัตวน้ำ F(X) 5 ขนาดของฝูง

                         สัตวน้ำเทากับ X 5 การลงแรงประมงเพื่อจับสัตวน้ำเทากับ E 5 เปนจุดสมดุลในการจับอยางยั่งยืน เมื่อ

                         ขนาดของฝูงสัตวน้ำมีการเติบโตในอัตราที่เพิ่มขึ้น แตยังไมเต็มที่ นั่นหมายถึงขนาดของฝูงสัตวน้ำยังไมใช

                         ขนาดที่โตเต็มที่ และเมื่อพิจารณา ณ จุด F(X s) = H s การเติบโตของฝูงสัตวน้ำ F(X) s ขนาดของฝูงสัตว

                         น้ำเทากับ X s การลงแรงประมงเพื่อจับสัตวน้ำเทากับ E s ณจุดนี้จะเห็นไดวาเปนระดับที่ขนาดการเติบโต
                         ของขนาดฝูงสัตวน้ำเปนขนาดที่เติบโตสูงสุดพรอมที่จะใชประโยชน และเมื่อทำประมง ณ จุดนี้จะ

                         เรียกวาเปนระดับการจับสัตวน้ำที่ขนาดของฝูงสัตวน้ำที่ยั่งยืนสูงสุด (Maximum Sustainable Fish

                         Stock Level)






                                                             หนา | 29
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46