Page 45 -
P. 45

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                         ดานตนทุน


                         ขอสมมติ: เมื่อเพิ่มการลงแรงประมง ตนทุนที่เพิ่มจะเพิ่มในสัดสวนเดียวกัน


                         การคำนวณตนทุน


                         ตนทุนทั้งหมด TC(E) = aE : a คือตนทุนตอหนวยการลงแรงประมง (วัน) ดังนั้นเสนตนทุนจึงเปน

                         เสนตรง 45 องศาจากจุดกำเนิดของกราฟ ดังภาพที่ 2. 10 ตนทุนเฉลี่ยเทากับตนทุนทั้งหมดหารการลง

                                             TC(E)
                         แรงประมง (วัน)  AC(E) =   และ ตนทุนสวนเพิ่มเทากับ การเปลี่ยนแปลงของตนทุนทั้งหมด
                                               E
                         เปรียบเทียบกับการเปลี่ยนแปลงของการลงแรงประมง























                                ภาพที่ 2. 10 เสนตนทุนทั้งหมด ภายใตเงื่อนไข สวนเพิ่มของตนทุนเปนสัดสวนเดียวกับการ
                         เพิ่มการลงแรงประมง


                                โดยปกติดุลภาพในการทำประมงสามารถแบงออกเปน 3 ดาน ไดแก ดุลภาพการทำประมงโดย

                         เสรี ดุลยภาพการทำประมงอยางยั่งยืนสูงสุด และดุลยภาพการทำประมงผลไดทางเศรษฐศาสตรสูงสุด

                         แตละดานจะมีวัตถุประสงคแตกตางกัน โดยมีรายละเอียดดังนี้


                         1.ระดับการทำประมงเสรี Open Access (OA) เปนระดับการทำประมงที่ชาวประมงจะทำการ

                         ประมงจนกระทั่งรายไดทั้งหมดเทากับตนทุนทั้งหมด ณ จะอยูที่ TR = TC หรือ AR = AC

                                การลงแรงประมงกอนจุด E  รายไดรวมทั้งหมดจะสูงกวาตนทุนทั้งหมด รายไดเฉลี่ยสูงกวา
                                                     OA
                         ตนทุนเฉลี่ย (TR >TC , AR > AC) แตละลำเรือจะยังคงทำประมงตอไปเนื่องจากยังมีกำไรในการทำ

                         ประมง เปนแรงจูงใจที่จะใหทำประมงเพิ่มขึ้น หรือมีรายอื่นเขามาทำประมงเพื่อใหไดกำไร การเพิ่มการ




                                                             หนา | 33
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50