Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                    2.3 เสนผลจับอยางยั่งยืน (Sustainable Yield Curve)


                          จากจุดสมดุลของการจับสัตวน้ำและขนาดของฝูงสัตวน้ำที่เติบโตพอดีกันในแตละชวง เรา

                    สามารถนำจุดสมดุลในแตละชวงของขนาดฝูงสัตวน้ำมาหาความสัมพันธระหวางปริมาณสัตวน้ำที่จับได

                    และการลงแรงประมง ดังภาพที่ 2. 7































                    ภาพที่ 2. 7 ความสัมพันธของจุดสมดุลอยางยั่งยืนของการทำประมงและขนาดของฝูงสัตวน้ำ และ

                    ความสัมพันธของการลงแรงประมงกับปริมาณสัตวน้ำที่จับไดบนเสนผลจับอยางยั่งยืน
                    ที่มา: ดัดแปลงจาก Lee G. Anderson (1987)

                          จาก ภาพที่ 2. 7 พบวา ณ ระดับจุดสมดุลยั่งยืนของการจับสัตวน้ำกับขนาดของฝูงสัตวน้ำใน

                    ระดับ F(X) 1=H 1, F(X) 2=H 2, F(X) 3=H 3, F(X) 4=H 4 และ F(X) 5=H 5 (ภาพดานซายมือหมายเลข 1 ภาพที่

                    2. 7) แตละจุดสามารถสรางความสัมพันธระหวางปริมาณการจับสัตวน้ำ และการลงแรงประมง โดยเสน
                    ที่สรางขึ้นไดจะเรียกวา เสนผลจับอยางยั่งยืน (Sustainable yield curve) (ภาพหมายเลข 2 ดาน

                    ขวามือของภาพที่ 2. 7) ซึ่งจะเห็นวา เมื่อมีการลงแรงประมง ณ E 1 จะสามารถจับสัตวน้ำไดเทากับ H 1

                    และเมื่อลงแรงประมงเพิ่มขึ้น โดยที่ E <E <E <E <E  จะเห็นวาการลงแรงที่ระดับ E เปนระดับที่ทำ
                                                     2
                                                 1
                                                        3
                                                           4
                                                              5
                                                                                       3
                    ใหจับปลาไดสูงที่สุดที่ H หรือเรียกวาระดับผลจับอยางยั่งยืนสูงสุด (maximum sustainable yield
                                       3
                    (H ,MSY)) อยางไรก็ตาม ระดับการลงแรงประมงที่ E  ซึ่งมากกวา E แตสามารถจับไดในปริมาณ
                                                                            2
                      3
                                                               4
                    เทากันกับการลงแรงประมงที่ระดับ H และระดับการลง E  ซึ่งมากกวา E ก็สามารถจับไดในปริมาณ
                                                                              3
                                                  2
                                                                  5
                                                        หนา | 30
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47