Page 39 -
P. 39

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                H = f(E,X)                                            …………….(5)


                                E = fishing effort (hours)


                                X = stock level (tonnes, tons, kg)




































                                      ภาพที่ 2. 5 การทำประมงในระดับขนาดฝูงสัตวน้ำที่มีขนาดตางกัน
                                      ที่มา: ดัดแปลงจาก Ola Flaaten (2010)



                                ระดับของขนาดฝูงสัตวน้ำที่แตกตางกันมีผลตอปริมาณสัตวน้ำที่จับไดหากขนาดของฝูงสัตวน้ำ

                         ที่ใหญกวาจะสามารถจับสัตวน้ำไดปริมาณมากกวาการจับสัตวน้ำในฝูงสัตวน้ำที่มีขนาดเล็กกวา แสดงใน
                         ภาพที่ 2. 5 ที่ระดับการลงแรงประมง ณ E หากลงแรงประมงมากขึ้นจะทำใหจับสัตวน้ำไดปริมาณมาก

                         ขึ้น อยางไรก็ตามหากจับสัตวน้ำที่ขนาดฝูงสัตวน้ำที่มีขนาดเล็ก X ต่ำ ปริมาณการจับสัตวน้ำจะเทากับ H 1

                         ซึ่งมีปริมาณที่ต่ำกวา H 2 ที่มีขนาดของฝูงสัตวน้ำใหญกวา X สูง


                         ความสมดุลของการจับสัตวน้ำ


                                เมื่อเกิดการทำประมง การลงแรงประมงในแตละรอบสามารถที่จะทำใหขนาดของฝูงสัตวน้ำ

                         เกิดความสมดุลได หรือหมายถึง การทำประมงที่อยูในจุดสมดุลกับการเติบโตของสัตวน้ำ เพื่อทำให



                                                             หนา | 27
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44